• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1137-1156 จาก 2486

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การศึกษาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม 

      อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; คัทลียา ศิริภัทรากูร แสนหลวง; Cattaliya Siripattarakul Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05-06)
      โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ชั่วคราวที่มีความทันสมัยในการดูแลผู้ป่วยครบวงจร ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ตามมาตรฐานการรักษา รวมทั้งระบบการส่งต่อ อย่างไรก็ตามการศึกษาระบบบริหาร ...
    • การศึกษาระบบประเมินและระบบการบริหารจัดการ ความเสี่ยงต่อสุขภาพในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 

      ธีชัช บุญญะการกุล; Thechuch Bunyakankul; อำพรรณ จารุรัตน์; วัฒนา เกตุมงคลฉวี; อุดมลักษณ์ ศรีทัศนีย์; รัชนี ไผทสิทธิ์; กรมอนามัย. สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การศึกษาระบบประเมินและระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อสุขภาพในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด รายงานการศึกษาครั้งนี้ เป็นรายงานการศึกษาการจัดการสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเชิงคุณภาพ เพื่ออธิบายบทบาทหน้าที่ขององค์กรในประเทศและต่าง ...
    • การศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบประชาชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในชุมชนล้านนา 

      อวยพร ตัณมุขยกุล; Auyporn Tanmukayakul; ชวพรพรรณ จันทร์ประสิทธิ์; สุจิตรา เทียนสวัสดิ์; วารุณี ฟองแก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบสุขภาพแบบพื้นบ้านและระบบสุขภาพแบบสามัญชนเพื่อการส่งเสริมสุขภาพสตรีวัยกลางคนในชุมชนล้านนา ทำการศึกษาในชุมชนเขตเมือง กึ่งเขตเมืองกึ่งชนบท และในเขตชนบทอย่างละ 1 แห่ง ...
    • การศึกษาระบาดวิทยาและการควบคุมของเชื้ออซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอและเอนเทอโรแบคทีเรียซีอี ที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะคาร์บาพีเนม ในเครือข่ายโรงพยาบาลภาคใต้ตอนล่าง 

      ศรัญญู ชูศรี; Sarunyou Chusri; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล; Khachornjakdi Silpapojakul; ธนภร หอทิวากุล; Thanaporn Hortiwakul; บุญศรี เจริญมาก; Boonsri Charoenmak; รัตนรุจิ พุ่มวิเศษ; Rattanaruji Pomwised (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      บทนำ การติดเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะเป็นปัญหาสำคัญในระดับชาติ โดยเฉพาะกับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และที่สำคัญพบว่าผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อจะมีอัตราการเสียชีวิตสูง มีระยะเวลาในการครองเตียงเพื่อรักษาเป็นเวลานาน ...
    • การศึกษาระบาดวิทยาและผลการรักษาของผู้ป่วยผู้ใหญ่โรคมะเร็งโลหิตวิทยาในประเทศไทย 

      สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย; Thai Society of Hematology (สมาคม, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาระบาดวิทยาโรคมะเร็งทางโลหิตวิทยา วิธีการรักษา การใช้เทคโนโลยีการวินิจฉัยและรักษา ผลการรักษาโรคผู้ป่วยผู้ใหญ่โรคมะเร็งโลหิตวิทยา เพื่อนำข้อมูลไปกำหนดแนวทางการรักษาโรคที่เป็นมาตรฐานเ ...
    • การศึกษาระบาดวิทยาและพฤติกรรมการป้องกันรักษาไข้มาลาเรียของแรงงานต่างชาติในพื่นที่มีความเสี่ยงสูงของจังหวัดระนอง 

      ยุทธพงศ์ หมื่นราษฎร์; Yuttapong Muenras; กิตติ ทองศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษาระบาดวิทยาและพฤติกรรมการป้องกันรักษาไข้มาลาเรียของแรงงานต่างชาติ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราป่วย อัตราการเป็นพาหะ และพฤติกรรมการป้องกันรักษาไข้มาลาเรียของคนไทยและแรงงานต่างชาติ วิธีการศึกษา ...
    • การศึกษาระยะยาวและติดตามโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและปัจจัยเสี่ยงของคนวัยทำงานเขตเมืองในบางกอกน้อย (โครงการศิริราชวันเฮลท์) 

      กรภัทร มยุระสาคร; Korapat Mayurasakorn; มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; วินัย รัตนสุวรรณ; Winai Ratanasuwan; ภูมิ สุขธิติพัฒน์; Bhoom Suktitipat; ประพัฒน์ สุริยผล; Prapat Suriyaphol; ไอยฤทธิ์ ไทยพิสุทธิกุล; Iyarit Thaipisuttikul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
      วัตถุประสงค์การวิจัย: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามอาสาสมัครในระยะยาว โดยศึกษาความชุกและการเปลี่ยนแปลงของภาวะสุขภาพ ชีวเคมี ปัจจัยเสี่ยงทางพันธุกรรม และพฤติกรรมสุขภาพที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ...
    • การศึกษาระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด ในจังหวัดอุบลราชธานี 

      พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพา เทพวัลย์; Pimpa Thepphawan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ แต่หากมารับการรักษาช้าอาจนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรและเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ...
    • การศึกษารายงานทางการเงินเพื่อแสดงประสิทธิภาพของโรงพยาบาล 

      กนกพร สุรณัฐกุล; Khanokporn Suranatkul; ศิรัตน์ สนชัย; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Sirirat Sonchi; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      รายงานทางการเงินเป็นที่ยอมรับว่าเป็นข้อมูลที่มีความสำคัญต่อผู้ใช้เป็นอย่างมาก แต่ปัจจุบันรายงานทางการเงินมีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก และการเปิดเผยข้อมูลก็ไม่เพียงพอ ซึ่งยากต่อการประเมินประสิทธิภาพของฝ่ายบริหาร ผลจากการศึ ...
    • การศึกษารายประเด็นเกี่ยวกับสถานการณ์อันเนื่องมาจากการระบาดของโควิด-19 (บทความ 15 เรื่อง) 

      ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน); Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre (Public Organization) (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      รายงานผลการศึกษารายประเด็นเกี่ยวกับสถานการณ์อันเนื่องมาจากการระบาดของโควิด-19 (บทความ 15 เรื่อง) นี้ จัดทำขึ้นภายใต้ “โครงการวิจัยโควิด-19 กับสังคมไทย : บันทึกวิกฤติและประสบการณ์การรับมือไวรัสโคโรนา” มีวัตถุประสงค์เพื่อร ...
    • การศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Repeepong Suphanchaimat; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ปิติยา สันทัด; Pitiya Santad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรแบบข้าราชการ เพื่อลดภาระงบประมาณและปรับบทบาทการทำงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวมากขึ้น นโยบายดังกล่าวส่งผลไม่เพียงแต่บุคลากรสนับสนุนบริการสุขภาพ แต่รวมถึงวิชาชี ...
    • การศึกษารูปแบบการนำเครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึมในระยะเริ่มแรกสำหรับเด็กไทยไปสู่การปฏิบัติงานในบริบทจริงของเขตสุขภาพที่ 1 (ปีที่ 2) 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ดวงกมล ตั้งวิริยะไพบูลย์; Duangkamol Tangviriyapaiboon; โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit; หทัยชนก อภิโกมลกร; Hathaichanok Apikomolkorn; ปริวัตร เขื่อนแก้ว; Pariwat Kuankaew; อมรา ธนศุภรัตนา; Amara Thanasuparatana; นพวรรณ บัวทอง; Noppawan Buathong; ชญานิษฐ์ อนันตวรวงศ์; Chayanit Anantavorawong; เสาวรส แก้วหิรัญ; Saowarod Kaewhiran; ชิดาวรรณ สุยะก๋อง; Chidawan Suyakong; มัลลิกา ปัญญาผาบ; Mallika Panyaphab; พลอยพิมพ์ พุทธปวน; Ploypim Puttapuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใช้เครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึมในระยะเริ่มแรกสำหรับเด็กไทย และเพื่อศึกษาแนวทางในการนำเครื่องมือ Thai Diagnostic Autism ...
    • การศึกษารูปแบบการผสมผสานงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อ จังหวัดนครศรีธรรมราช 

      สาธิต ไผ่ประเสริฐ; Sathit Paiprasert; รุจิรา พชรปกรณ์พงศ์; สุนีย์ ไชยสุวรรณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
    • การศึกษารูปแบบการมีงานทำของคนพิการ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ มาตรา 35 

      ภัทรีพันธ์ พงศ์วัชร์; มนิษา อนันตผล; กิตติทร สุดประเสริฐ; วีระศักดิ์ พงศ์วัชร์; นริศา ปิ่นวาสี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      รายงานการศึกษารูปแบบการมีงานทำของคนพิการ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ตามมาตรา 35 เป็นการศึกษารูปแบบการจ้างงานตามมาตรา 35 โดยศึกษาจากรณีการจ้างงานหรือการดำเนินการจริงของสถานประกอบการ โดยศึกษากฎหม ...
    • การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการระบบสุขภาพระดับตำบล ภายใต้แผนการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; มโน มณีฉาย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของการจัดการระบบสุขภาพระดับตำบลในประเทศไทย 2. เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการระบบสุขภาพระดับตำบล 3. ความสัมพันธ์เชิงอำนาจและความรับผิดชอบในการดำเนินก ...
    • การศึกษารูปแบบระบบบริหารจัดการยาระดับประเทศและประเมินความเป็นไปได้ในการจัดให้มีรูปแบบใหม่ของระบบในประเทศไทย 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01-10)
      การจัดการในภาพรวมเพื่อให้เกิดเสถียรภาพและความมั่นคงของการมีเภสัชภัณฑ์ใช้ในประเทศ ภายในขอบเขตของงบประมาณที่ได้รับนั้น มีความสำคัญต่อการเข้าถึงเภสัชภัณฑ์จำเป็นอย่างเท่าเทียม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบระบ ...
    • การศึกษาลักษณะของปัญหาทางประสาทจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการเสพสารระเหยในกลุ่มเด็กและเยาวชน 

      ขัตติยา รัตนดิลก (โครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติด, 2552-05)
      การป้องกันการเสพสารระเหยนั้นทำได้ยาก เนื่องจากสารระเหยเป็นสารที่เป็นส่วนประกอบอยู่ในสารที่จำเป็นต้องใช้ในครัวเรือนและงานอุตสาหกรรม ไม่สามารถทำให้เป็นสารเสพติดที่ผิดกฎหมายเหมือนกับยาเสพติดชนิดอื่นๆ การให้ความรู้เรื่องพิษภ ...
    • การศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนหรือกำไรหลักจากปีแรกของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngosurachat; อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช; Antapol Sornloetlumwanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลที่มีผลดำเนินการกำไร โดยวิเคราะห์จากข้อมูลของโรงพยาบาลทั่วประเทศที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 640 โรงพยาบาล ...
    • การศึกษาลักษณะทางจีโนมิกส์ของเชื้อแบคทีเรีย non-typhoidal Salmonella ที่คัดแยกได้จากผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบในประเทศไทย 

      ปารเมศ เทียนนิมิตร; Parameth Thiennimitr; ทรงพล พุทธศิริ; Songphon Buddhasiri; จีรยุทธ ไชยจารุวณิช; Jeerayut Chaijaruwanich; สุภาภรณ์ ชีวะธนรักษ์; Supapon Cheevadhanarak; ศวรรณี สุธีร์วรพงศ์; Sawannee Sutheeworapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)
      Salmonella เป็นเชื้อก่อโรคทางเดินอาหารที่มีการติดต่อผ่านทางการรับประทานอาหารและน้ำที่ปนเปื้อน โรคติดเชื้อที่เกิดจาก Salmonella มีความสำคัญในทางการแพทย์ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย การเพิ่มขึ้นของอุบัติการณ์เชื้อ Salmonella ...
    • การศึกษาวิจัยการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของยา เพื่อประกอบการพิจารณาคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2558 

      พิศพรรณ วีระยิ่งยง; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ธันธิมา สุวรรณถาวรกุล; ทรงยศ พิลาสันต์; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; ยศ ตีระวัฒนานนท์; โรงพยาบาลราชวิถี งานประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กลุ่มงานวิจัยและประเมินเทคโนโลยี; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; ณัฏฐิญา ค้าผล; สาวิณี โชคเฉลิมวงศ์; เอมิกา วิรุฬห์พอจิตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติแต่งตั้งคณะทำงานด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข เพื่อจัดทำข้อมูลเภสัชเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของรายการยาที่จะเกิดขึ้น หากมีการบรรจุรายการยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ สำหรับใช้เป็นข้อมูลป ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV