• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1339-1358 จาก 2484

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2555 

      สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      การพัฒนาระบบสุขภาพไปสู่ระบบที่พึงประสงค์ หมายถึงการมีระบบต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบย่อย เช่น ระบบสร้างเสริมสุขภาพ ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ เป็นธรรมต่อประชาชน ...
    • การสำรวจความคิดเห็นสาธารณะในสื่อสังคมออนไลน์ และข่าวอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับกัญชาในหนังสือพิมพ์ก่อนและหลังการออกนโยบายกัญชา 

      นริสรา พึ่งโพธิ์สภ; Narisara Peungposop; พิชญาณี พูนพล; Pitchayanee Poonpol; ชนันภรณ์ อารีกุล; Chananporn Areekul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07)
      ประเด็นกัญชาเสรีเป็นเรื่องใหม่และอยู่ในกระแสความสนใจสำหรับคนไทย การทำความเข้าใจความคิดเห็นและท่าทีที่มีต่อกัญชาผ่านวาทกรรมทางสังคมในสื่อสังคมออนไลน์จึงเป็นเรื่องจำเป็นที่ต้องแสวงหาความจริงเพื่อสร้างเป็นองค์ความรู้พื้นฐาน ...
    • การสำรวจความคิดเห็นแพทย์เกี่ยวกับปัญหาที่พบบ่อยใน เวชปฏิบัติและ หนทางในการเพิ่มพูนความรู้ 

      วราภรณ์ เอี้ยวสกุล; Waraporn Aiawsakul; ประนมพร โรจน์บวรวิทยา; สุรเกียรติ อาชานานุภาพ; วิชัย เอกพลากร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณา เพื่อสำรวจความคิดเห็นด้านเวชปฏิบัติของแพทย์ในสาขาอายุรกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยกรรม สูตินรีเวชกรรมและออร์โธปิดิกส์ เกี่ยวกับ 1) ปัญหาที่พบบ่อยแนวทางเวชปฏิบัติที่หลากหลาย 2) ภาวะอาการของโรค ...
    • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ. 2560 (ระยะที่ 1) 

      วิมล โรมา; ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์; มธุรส ทิพยมงคลกุล; ณัฐนารี เอมยงค์; นรีมาลย์ นีละไพจิตร; สายชล คล้อยเอี่ยม; มุกดา สำนวนกลาง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) คือ ระดับสมรรถนะของบุคคล ในการเข้าถึง เข้าใจ ประเมิน และปรับใช้ข้อมูลความรู้ และบริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ซึ่งการศึกษาที่ผ่านมาระบุว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญที่กำหนดสถานะสุขภาพ ...
    • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ. 2562 

      วิมล โรมา; Wimon Roma; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam; วรัญญา สุขวงศ์; Warunya Sookawong; ฐิติวัฒน์ แก้วอำดี; Thitiwat Kaew-Amdee; อัจฉรา ตันหนึ่ง; Atchara Tunnung; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-11)
      การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับเขตสุขภาพและประเทศตามทักษะความรอบรู้ด้านสุขภาพและบริบทที่จำเป็นต่อการมีสุขภาพที่ดีตลอดช่วงวัย 2. ...
    • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ. 2566 (ครั้งที่ 2) การส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในประเทศไทย: การประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน ปัจจัยกำหนด และข้อเสนอเชิงนโยบาย 

      ศุภฤกษ์ สื่อรุ่งเรือง; Suparerk Suerungruang; กิ่งพิกุล ชำนาญคง; Kingpikul Chamnankong; มณฑล หวานวาจา; Montol Wanwaja; สายชล คล้อยเอี่ยม; Saichon Kloyiam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-11)
      ความเป็นมาและความสำคัญ: ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy; HL) เป็นทักษะของบุคคลในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อตัดสินใจดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาสุขภาวะของประชากร วัตถุประสงค์: ...
      ป้ายกำกับ:
      รายการแนะนำ
    • การสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับความเข้าใจเรื่องโรค การปฏิบัติตัวและการได้รับวัคซีนโควิด-19 ของประชาชน กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้สูงอายุ และผู้พิการทางการเห็น 

      ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์; Chanuantong Tanasugarn; วัชรา ริ้วไพบูลย์; Wachara Riewpaiboon; นรีมาลย์ นีละไพจิตร; Nareemarn Neelapaichit; ณัฐนารี เอมยงค์; Natnaree Aimyong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคโควิด-19 ของผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้พิการทางการเห็น ที่อาศัยในพื้นที่ที่มีการระบาดแตกต่างกัน โดยในช่วงมิถุนายน 2564 พื้นที่ควบคุมสูงสุด ...
    • การสำรวจความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรตัวอย่าง สำหรับใช้วิเคราะห์ Psychometric เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 

      มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์วิจัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      “Health Literacy” หมายถึง ความสามารถในการค้นหาหรือเข้าถึง สร้างความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ ในประเทศไทยมีการแปลคำนี้ไว้ต่างกันไป เช่น “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าทันด้านสุขภาพ” หรือ “ความฉลาดทางสุขภาวะ” ...
    • การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย 

      ผลิน กมลวัทน์; Phalin Karmolwat; ศรีประพา เนตรนิยม; Sriprapa Nateniyom; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; มนทรัตน์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พิเชต วงรอต; Phichet Wongrot; บุญเชิด กลัดพ่วง; Booncherd Kladphuang; อรรถกร จันทร์มาทอง; Auttagorn Junmartong; อุบลรัตน์ วาจรัต; Ubonrat Wajarat; วัสนันท์ ขันธชัย; Wassanan Khanthachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวต้องแบกรับ (Out-of-pocket expenditure) เพื่อประเมินอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะวิกฤตทา ...
    • การสำรวจด้านโภชนาการ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พศ 2551-2552 

      วิชัย เอกพลากร; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; ศักดา พรึงลำภู (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2553)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551- 2552 นี้เก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทยอายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ที่อาศัยใน 20 จังหวัดทั่วประเทศและกทม. จำนวน 29,485 คน คิดเป็นอัตราตอบกลับร้อยละ 93 โดยเป็น ตัวอย่างเด็กอายุ 1-14 ...
    • การสำรวจปัญหาภาวะโลหิตจางและปัจจัยสาเหตุในเด็กอายุ 1-4 ปี จังหวัดกระบี่ 

      ศิริรัตน์ สุวันทโรจน์; Sirirat Suwantaroj; เย็นตา เบ็ดเสร็จ; สุพัชรี พรหมแสง; สุริพร ดำดี; จารึก สุขกุล; วิชัย หวันเมือง; อนงค์ ภูมชาติ; วิภาวรรณ ผ่องสว่าง; Yeonta Beonseot; Supatcharee Phosaeng; Suriporn Dumdee; Jarueg Sukkul; Wichai Wanmueang; Anong Poomchart; Wipawan Pongsawang (โรงพยาบาลกระบี่, 2544)
      ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็กอายุ 1-4 ปี ผลกระทบสำคัญ คือ ทำให้พัฒนาการด้านการเรียนรู้ทางอารมณ์และทางกายล่าช้า แม้จะได้รับการแก้ไขเมื่อเกิดขึ้น ความบกพร่องของพัฒนาการที่เกิดขึ ...
    • การสำรวจผลงานวิจัยและนวตกรรมที่เข้าข่าย Routine to Research การเผยแพร่ และการนำไปใช้ประโยชน์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 

      ปริญญา สันติชาติงาม; วิวัฒน์ ฉัตรวงศ์วาน; กัญญาลักษณ์ ณ รังษี; สิริลักษณ์ คุณกมลกาญจน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-03)
      วัตถุประสงค์ : (1) เพื่อศึกษารูปแบบงานวิจัยและนวัตกรรมของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาที่ดำเนินแล้วเสร็จ (2) การเผยแพร่ผลงานวิจัยและนวัตกรรม (3) การนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ (4) ผลงานวิจัยที่เข้าข่าย R2R ...
    • การสำรวจพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติดชนิดอื่น การเข้าถึงความรู้ และทัศนคติต่อกัญชาในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาและเยาวชนนอกสถานศึกษา 

      วิไลลักษณ์ ลังกา; Wilailak Langka; ศุภวรรณ สัจจพิบูล; Suppawan Satjapiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ย่อย 4 ข้อ ได้แก่ 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติด การเข้าถึง แบบอย่างการใช้ฯ การรับรู้ประโยชน์/โทษ ผลกระทบของการใช้กัญชาต่อตนเองและผู้อื่น และทัศนคติต่อกัญชาในนักเรียนระดั ...
    • การสำรวจพฤติกรรมการใช้กัญชาและสารเสพติดในประชากรไทย ผลกระทบจากกัญชาต่อความเป็นธรรมทางสุขภาพ และต้นทุนการเจ็บป่วยจากการใช้กัญชา 

      รัศมน กัลยาศิริ; Rasmon Kalayasiri; สุริยัน บุญแท้; Suriyan Boonthae; เกื้อการุณย์ ครูส่ง; Kuakarun Krusong; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang; ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-09)
      การนำพืชกัญชาออกจากบัญชียาเสพติดให้โทษประเภท 5 ในปี พ.ศ. 2565 โดยมีการอนุญาตให้ปลูก จำหน่าย และทำให้เกิดการใช้กัญชาได้ในประเทศไทยนอกหนือจากการใช้ทางการแพทย์ จำเป็นต้องมีการประเมินสถานการณ์อย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องถึงจำนวน ...
    • การสำรวจพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของนักเรียนในโรงเรียน โครงการวิจัยนำร่องในโรงเรียนที่ประสบธรณีพิบัติภัย อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา 

      นันทวัช สิทธิรักษ์; พนม เกตุมาน; วินัดดา ปิยะศิลป์; ณัทธร พิทยรัตน์เสถียร; พรจิรา ปริวัชรากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-05)
      วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของนักเรียนในโรงเรียนที่ประสบธรณีพิบัติภัย 2. เพื่อทราบความชุกของการใช้สารเสพติดของนักเรียนในโรงเรียนที่ประสบธรณีพิบัติภัย 3. เพื่อทราบทัศนคติของนักเรียนในโร ...
    • การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง ภาวะเสี่ยง ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และการใช้บริการสุขภาพ : ฉบับที่ 1 การปฏิบัติตนด้านสุขภาพ อนามัยของประชาชน 

      สุขุม เฉลยทรัพย์; วรรณวิภา จัตุชัย; Sukhum Chaleysub; สวนดุสิตโพล; Suan Dusit Poll (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      Survey of Risk Behavior, Risk Situation, Health lnformation, HealthInformation Perception : first issue Practice for HealthThe aims of this survey are both to describe risk behavior, way of life in risk environment, ...
    • การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง ภาวะเสี่ยง ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และการใช้บริการสุขภาพ : ฉบับที่ 2 การใช้บริการสุขภาพของประชาชน 

      สุขุม เฉลยทรัพย์; Sukhum Chaleysub; สวนดุสิตโพล; Suan Dusit Poll (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง ภาวะเสี่ยง ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพและการใช้บริการสุขภาพ : ฉบับที่ 2 การใช้บริการสุขภาพของประชาชน การสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายประสบการณ์การใช้บริการสุขภาพของประชาชน ณ สถานบริการของรัฐ ...
    • การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง ภาวะเสี่ยง ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และการใช้บริการสุขภาพ : ฉบับที่ 3 การบริหารโรงพยาบาลรัฐ 

      สุขุม เฉลยทรัพย์; Sukhum Chaleysub; สวนดุสิตโพล; Suan Dusit Poll (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง ภาวะเสี่ยง ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพและการใช้บริการสุขภาพ : ฉบับที่ 3 การบริหารโรงพยาบาลรัฐ การสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นในการบริหารโรงพยาบาลรัฐ กลุ่มตัวอย่าง เป็นบุคลากรในโรง ...
    • การสำรวจภาพลักษณ์สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 

      พรทิพย์ พิมลสินธุ์; Pongtip Phimonsin; สุวัฒน์ ทองธนากุล; นิโลบล บุญสลับ; Suwat Thongtanakul; Nilobon Bunsalab (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เป็นองค์กรของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พร้อมๆ กับการจัดตั้งสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทค ...
    • การสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียนในประเทศไทย พ.ศ. 2564 

      กระทรวงสาธารณสุข. กลุ่มอนามัยเด็กวัยเรียนวัยรุ่น สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      สำหรับในประเทศไทย โดยกรมอนามัยได้ดำเนินการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียน ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2551 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและการสนับสนุนทางวิชาการจากองค์การอนามัยโลก ดำเนินการโดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและแบบสำรวจมาตรฐานที่ใช้ร ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV