Now showing items 1-12 of 12

    • การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Viroj Tangcharoensathien; Cichon, Michael; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ...
    • การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; จิตปราณี วาศวิท; ภูษิต ประคองสาย; กัญจนา ติษยาธิคม; Walaiporn Patcharanarumol; Chitpranee Vasavid; Phusit Prakongsai; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ...
    • การวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : บัญชีรายจ่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ประเทศไทย พ.ศ. 2549-2552 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; สุวารี เตียงพิทักษ์; กัญจนา ติษยาธิคม; ภาสกร สวนเรือง; จิตปราณี วาศวิท; ทวีศรี กรีทอง; รังสิมา ปรีชาชาติ; พัชนี ธรรมวันนา; ชาฮีดา วิริยาทร (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2553-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนและกำกับติดตามการดำเนินงานด้านนี้ และมีวัตถุประสงค์เฉพาะคือ 1. เพื่อศึกษาแนวโน้มสถานก ...
    • การศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Repeepong Suphanchaimat; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; พัชรี เพชรทองหยก; Patcharee Phetthongyok; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ปิติยา สันทัด; Pitiya Santad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ปัจจุบันภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรแบบข้าราชการ เพื่อลดภาระงบประมาณและปรับบทบาทการทำงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวมากขึ้น นโยบายดังกล่าวส่งผลไม่เพียงแต่บุคลากรสนับสนุนบริการสุขภาพ แต่รวมถึงวิชาชี ...
    • การศึกษาแหล่งทุนและการกำหนดยุทธศาสตร์งานวิจัยสุขภาพสำหรับประเทศไทย 

      พินทุสร เหมพิสุทธิ์; บุษราวรรณ ศรีวรรธนะ; งามจิตต์ จันทรสาธิต; ภสิณี ฟูตระกูล; สุริสา รีเจริญ; อรพินท์ มุกดาดิลก; สุวรรณี อัศวกุลชัย; กัญจนา ติษยาธิคม; เพ็ญศรี ตรามีคุณ; จารุณี จันทร์เพชร; หทัยรัตน์ คงสืบ; สายชล สู่สุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      งานวิจัยถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญอย่างยิ่งในการที่จะช่วยแสวงหาหนทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในสภาวะการณ์ที่หลากหลายและเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่ง สำหรับประเทศไทย มีข้อจำกัดในการส่งเสริมการวิจัยในด้านต่างๆ ทั้งปริมาณและงบประมาณ ...
    • การเปลี่ยนแปลงภาวะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนจากการวิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน(โดยใช้ตัวอย่างซ้ำ) 2548-2553 

      วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; กัญจนา ติษยาธิคม; สุพล ลิมวัฒนานนท์; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-02)
      การสำรวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนโดยใช้ตัวอย่างซ้ำ เป็นการติดตาม สัมภาษณ์ครัวเรือนเดิมจำนวนประมาณ 6 พันตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 4 รอบ (พ.ศ. 2548, 2549, 2550 และ 2553) ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสามารถนำไปใช้วิเ ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลชุมชน 

      กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลชุมชนฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และศักยภาพในการวิเคราะห์ต้นทุนของสถานพยาบาลในภาครัฐ ให้สามารถวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การเงินการคลังของตนเองได้ เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อรอ ...
    • คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลชุมชน 

      กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      การวิเคราะห์เพื่อหาต้นทุนต่อหน่วยบริการของโรงพยาบาลชุมชนเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการเรียนการอบรม หลักสูตรการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยบริการ ซึ่งจัดทำขึ้นทั้งหมดจำนวน 4 เล่ม ประกอบด้วย Volume 1 Costing an ...
    • คู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumon; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      เอกสารคู่มือการวิเคราะห์ต้นทุนโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปฉบับนี้ เป็นงานส่วนหนึ่งของการจัดทําแผ่นซีดีช่วยสอนเรื่อง การวิเคราะห์ต้นทุนของสถานพยาบาล ซึ่งสํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (International Health Policy ...
    • ต้นทุน และประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียม ภาครัฐและเอกชนในปี 2544 

      กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; สุวรรณา มูเก็ม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุน โครงสร้างต้นทุน ประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียมภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2544 โดยใช้วิธีการสำรวจ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าเสื่อมราคา ปริมาณการบริการฟอกเลือด ...
    • รายงานผลการสำรวจภายหลังการแจงนับการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2545 

      จิตปราณี วาศวิท; Chipanee Wasawit; วลัยพร พัชรนฤมล; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อาทิตยา เทียมไพรวัลย์; Walaiporn Phacharanarumol; Khanchana Tisayaatikhom; Wiroj Tangcharoesathien; Atitaya Thiemphaiwan (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบว่า วิธีการจัดเก็บข้อมูลจากครัวเรือน โดยการสัมภาษณ์จากสมาชิกคนใดคนหนึ่งของครัวเรือน เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของสมาชิกทุกคนในครัวเรือน (Proxy respondent) จะมีความแตกต่างจากการ ...