• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Research Reports เลือกตามผู้แต่ง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามผู้แต่ง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • Research Reports เลือกตามผู้แต่ง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Research Reports เลือกตามผู้แต่ง "พัทธรา ลีฬหวรงค์"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-16 จาก 16

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์ ในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์ และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช) 

      วรพรรณ เสนาณรงค์; Vorapun Senanarong; ชัชวาล รัตนบรรณกิจ; Chatchawan Rattanabannakit; พิพัฒน์ เชี่ยววิทย์; Pipat Chiewvit; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; เลิศชาย วชิรุตมางกูร; Leatchai Wachirutmanggur; ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; เบญจาภา เขียวหวาน; Benjapa Khiewvan; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; ศตนันทน์ มณีอ่อน; Satanun Maneeon; นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05)
      โครงการการตรวจสอบความถูกต้องและความคุ้มทางเศรษฐศาสตร์สุขภาพในการวินิจฉัยโรคอัลซไฮเมอร์และภาวะสมองฝ่อโดยใช้ตัวชี้วัดชีวภาพจากเลือด โดยวิธี Single-molecule array (Simoa) ในประชาชนไทย (ตอช) มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ (1) ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของการนำวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีPrime-Boost (ALVAC-HIV ® และ AIDSVAX B/E®) มาใช้ในประชากรไทย 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; นคร เปรมศรี; เฉวตสรร นามวาท; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-02)
      วัตถุประสงค์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาต้นทุนสูงสุดของวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัสเอชไอวีที่ทำให้วัคซีนฯ ยังมีความคุ้มค่าในบริบทของระบบสุขภาพประเทศไทย และประเมินคุณลักษณะของวัคซีน ฯ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสี่ยง ...
    • การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกด้วยเทคโนโลยี Tandem Mass Spectrometry (MS/MS) 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ภคนันท์ อังกาบ; Pakkanan Angkab; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      โรคพันธุกรรมเมตาบอลิกเป็นโรคหายากซึ่งประกอบด้วยโรคหลายร้อยชนิด อาการและอาการแสดงของโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกสามารถเลียนแบบโรคในเด็กได้เกือบทุกโรค ซึ่งอาการแสดงอาจคล้ายโรคติดเชื้อ เช่น ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน ชัก หอบ เป็นต้น ...
    • การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ณัฐกานต์ บุตราช; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ชนิสา โชติพานิช; Chanisa Chotipanich; เจษฎาพร พร้อมเที่ยงตรง; Chetsadaporn Promteangtong; อัญชิสา คุณาวุฒิ; Anchisa Kunawudhi; ดริส ธีระกุลพิศุทธิ์; Daris Theerakulpisut; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงการประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย ซึ่งผ่านการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทบทวนและอ้างอิงหลักฐานทางวิชาการ โดยมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้ท ...
    • การประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทย 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นันทสิทธิ์ เหลืองอาสนะทิพย์; Nantasit Luangasanatip; วิริชดา ปานงาม; Wirichada (Pongtavornpinyo) Pan-ngum; สมภพ ศรลัมพ์; Sompob Saralamba; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; Clapham, Hannah E.; Painter, Christopher Matthew Neil; Yi, Wang; Park, Minah (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04-30)
      นับแต่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 ทำให้มีผู้ติดเชื้อไปแล้วกว่า 100 ล้านคนและเสียชีวิตมากกว่า 2 ล้านคนทั่วโลก ถึงแม้ประเทศไทยจะประสบความสำเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค จากสถานการณ ...
    • การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ : การประเมินความเต็มใจจ่ายของครัวเรือนต่อมาตรการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; รุ่งนภา คำผาง; ทรงยศ พิลาสันต์; สุมาลัย สมภิทักษ์; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02)
      การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ ในรูปแบบของการประเมินความเต็มใจ จ่ายของครัวเรือนต่อมาตรการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณค่าที่ประช ...
    • การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ : การพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ สสส. โดยใช้ข้อมูลจากการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ทิวารัตน์ วุฒิศรัย; พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; ปรียานุช ดีบุกคำ; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; รุ่งนภา คำผาง; ทรงยศ พิลาสันต์; รักมณี บุตรชน; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2554-07)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ด้วยการวิเคราะห์ต้นทุนผลได้ (Cost-Benefit Analysis) ...
    • การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กุนที พลรักดี; Kunnatee Ponragdee; อรรถวิทย์ ยางธิสาร; Atthawit Yangtisan; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; สุพัฒศิริ อึ้งมณีภรณ์; Supatsiri Uengmaneeporn; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)
      ความแออัดของโรงพยาบาลรัฐบาลขนาดใหญ่ที่ทำให้ผู้ป่วยรอรับบริการนานเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบสุขภาพไทย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ป่วย ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่โดยใช้ ...
    • การพัฒนาคู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับที่ 3 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สลักจิต ชื่นชม; Salakjit Chuenchom; ณัฐธิดา มาลาทอง; Natthida Malathong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ หรือ Health Technology Assessment (HTA) เป็นการศึกษาผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีหรือนโยบายทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งรวมถึงผลกระทบด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ ...
    • การพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. โดยใช้ข้อมูลจากการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วย 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ทิวารัตน์ วุฒิศรัย; พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; ปรียานุช ดีบุกคำ; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; รุ่งนภา คำผาง; ทรงยศ พิลาสันต์; รักมณี บุตรชน; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2554)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. ด้วยการวิเคราะห์ต้นทุน-ผลได้ (Cost-benefit analysis) โดยการนำข้อมูลจากการวิเคราะห์ต้นทุนความเจ็บป่วยด้วย ...
    • การวิเคราะห์การเข้าถึงยาบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชียา จ(2) 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การเข้าถึงยา (access to medicine) ถือเป็นกุญแจสำคัญที่บ่งบอกความสำเร็จของระบบสาธารณสุขในประเทศนั้นๆ จากรายงานของ World Health Organization (WHO) ในปี 2004 ชี้ให้เห็นตัวเลข 1 ใน 3 ของประชากรของโลกยังไม่สามารถเข้าถึงยาที่ม ...
    • การศึกษาต้นทุนดำเนินงานแผนหลักของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; รุ่งนภา คำผาง; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; ทรงยศ พิลาสันต์; สุรสันต์ วิเวกเมธากร; รักมณี บุตรชน; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2554)
      เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นสิ่งที่ระบบสุขภาพทั่วโลกควรให้ความสำคัญเพราะนอกจากจะทำให้ประชากรมีสุขภาพดี ยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาและฟื้นฟูสภาพ อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีเพียงไม่กี่ป ...
    • การศึกษาทบทวนระบบและพัฒนาข้อเสนอการบริหารเวชภัณฑ์จำเป็นที่มีปัญหาการเข้าถึงภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; อรพรรณ อ่อนจร; Orapan Onjon; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-04)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาระบบการบริหารจัดการระดับประเทศของไทย ซึ่งได้เริ่มดำเนินการในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งในขณะนั้นเป็นผู้นำนโยบายการประกาศมาตรการบังคับใช้สิทธิตามสิทธิบัตรโดยรัฐ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านงบประมาณของการใช้ยาสูตร sofosbuvir/velpatasvir ในการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังทุกสายพันธุ์ในประเทศไทย 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      ไวรัสตับอักเสบซี (hepatitis C virus หรือ HCV) เป็นเชื้อไวรัสก่อโรคที่ทำให้ผู้ติดเชื้อมีอาการตับอักเสบ (hepatitis) ติดต่อผ่านทางการรับเลือดและส่วนประกอบของเลือด สามารถก่อให้เกิดอาการเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อยที่หายเองได้ภายในร ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขของการใช้ยาชีววัตถุและยาสังเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรคในการรักษาผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่มีภาวะการอักเสบมาก 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ชลทิชา จันทร์แจ่ม; Chonticha Chanjam; ณัฐกานต์ บุตราช; Nuttakarn Budtarad; วันรัชดา คัชมาตย์; Wanruchda Katchamart; พงศ์ธร ณรงค์ฤกษ์นาวิน; Pongthorn Narongroeknawin; ทัศนีย์ กิตอำนวยพงษ์; Tasanee Kitumnuaypong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของยาต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรค (disease-modifying anti-rheumatic drugs; DMARDs) ในกลุ่มยาชีววัตถุ (biologic DMARDs; bDMARDs) ...
    • ผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ด้วยระบบการแยกกักตัวที่บ้าน 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; ปารวี ชีวะอิสระกุล; Parawee Chevaisrakul; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana; พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ; Putthapoom Lumjiaktase; ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; พงศ์ธร เกียรติดำรงวงศ์; Pongtorn Kietdumrongwong; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศไทย พบว่า เกิดความรุนแรงถึงระดับภาวะวิกฤตทางด้านสาธารณสุข จากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 3 ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2564 โดยเกิดภาวะวิกฤตสูงสุดในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV