Now showing items 1-7 of 7

    • การวิจัยและพัฒนาสารสนเทศระบบยาเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ยา ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549-สิงหาคม 2550 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ภูรี อนันตโชติ; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; ศนิตา หิรัญรัศมี; ทวีพงษ์ อารียโสภณ; สุธีรา เตชคุณวุฒิ; ชุมพูนุช สุคนธวารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การใช้ยาอย่างเหมาะสมมีความสำคัญต่อผลลัพธ์ของการบริบาลผู้ป่วย และของการดำเนินงานระบบสุขภาพ การใช้ยาเกินจำเป็นและใช้ต่ำกว่าที่จำเป็น มีผลต่อคุณภาพการรักษา ในขณะเดียวกัน การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ย่อมมีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายสุขภาพด้วย ...
    • การศึกษาระบบ-ระเบียบการจัดซื้อยาของโรงพยาบาลรัฐบาล ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549-สิงหาคม 2550 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ศนิตา หิรัญรัศมี; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; ภูรี อนันตโชติ; ชมภูนุช สุคนธวารี; สุธีรา เตชคุณวุฒิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การจัดซื้อยาเป็นไปตามระเบียบจัดซื้อพัสดุซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นแนวทางสำหรับให้การจัดซื้อจัดหายาของโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ได้ยาที่มีคุณภาพดี ราคาเหมาะสม ทันเวลา และโปร่งใส ตรวจสอบได้ ...
    • การสำรวจสถานการณ์ราคายาและออกแบบนโยบายราคายาของประเทศไทย 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Chaoncin Sooksriwong; ศนิตา หิรัญรัศมี; Sanita Hirunrassamee; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; สิริวัฒน์ สุวัฒนปรีดา; Siriwat Suwattanapreeda; ถิรพิชญ์ เจือจันทร์; Thirapich Chuachantra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06-01)
      ที่มา มาตรการของภาครัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดราคายาได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ที่มีการพัฒนานโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรกของประเทศไทย จึงควรมีการวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบต่อราคายาที่เกิดจากมาตรการต่างๆ ...
    • การสำรวจสถานการณ์ราคายาและออกแบบนโยบายราคายาของประเทศไทย (ฉบับภาษาอังกฤษ) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Chaoncin Sooksriwong; ศนิตา หิรัญรัศมี; Sanita Hirunrassamee; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; สิริวัฒน์ สุวัฒนปรีดา; Siriwat Suwattanapreeda; ถิรพิชญ์ เจือจันทร์; Thirapich Chuachantra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      ที่มา มาตรการของภาครัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดราคายาได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ที่มีการพัฒนานโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรกของประเทศไทย จึงควรมีการวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบต่อราคายาที่เกิดจากมาตรการต่างๆ ...
    • ความต้องการสารสนเทศอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549 - สิงหาคม 2549 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ศนิตา หิรัญรัศมี; ภูรี อนันตโชติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ด้วยนโยบายแห่งชาติด้านยาของทั้ง 2 ฉบับ คือ ฉบับปี พ.ศ. 2525 และฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ. 2536 ได้กำหนดให้มีการการพัฒนาอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย จากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรมหลายชิ้นที่เกี่ยวข้องกับอุุตสาหกรรมยาในประเทศไทย ...
    • รูปแบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานยา ตามแนวทางการถ่ายโอนภารกิจสถานบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      กร ศรเลิศล้ำวาณิช; Korn Sornlertlumvanich; อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี; Anuchai Theeraroungchaisri; หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล; Hathaikan Chowwanapoonpohn; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; กุลจิรา อุดมอักษร; Khunjira Udomaksorn; วิรุณ เวชศิริ; Wirun Wetsiri; พุทธ ศิลตระกูล; Budh Siltrakool; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanapibool; ศนิตา หิรัญรัศมี; Sanita Hirunrassamee; รัชตะ อุลมาน; Ratchata Unlamarn; พิชญา นวลได้ศรี; Pitchaya Nualdaisri; มัณฑนา ไล่ชะพิษ; Manthana Laichapis; ธนเทพ วณิชยากร; Tanatape Wanishayakorn; จิรบูรณ์ โตสงวน; Jiraboon Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-06)
      การถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีจากกระทรวงสาธารณสุขสู่องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นไปตามแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ...
    • เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศเภสัชกรรมโรงพยาบาล และการจัดทำฐานข้อมูลและระบบสืบค้นงานวิจัยเกี่ยวกับระบบยาในประเทศไทย 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin; ภูรี อนันตโชติ; ทวีพงษ์ อารียโสภณ; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; ศนิตา หิรัญรัศมี; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Puree Anantachoti; Tweepong Ariyasopon; Jiraporn Usanakornkul; Sanita Hiranrasamee; Inthira Kanchanaphibool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      โครงการเครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศเภสัชกรรมโรงพยาบาล เป็นแนวคิดใหม่ในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างเหมาะสม (rational use of drugs) ที่พัฒนาระบบการสนับสนุนโรงพยาบาลในการติดตามการใช้ยา โดยการสร้างกลไกการวิเคราะห์การใช้ยาอย่างต่อเนื่อง ...