Now showing items 1-4 of 4

    • การพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง และครู (ปีที่ 2) 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; รัชนี ฉลองเกื้อกูล; Rachanee Chalongkuakul; มธุรดา สุวรรณโพธิ์; Mathurada Suwannapho; วิมลรัตน์ วันเพ็ญ; Wimonrat Wanpen; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การบูรณาการการดูแลระหว่างผู้ปกครองครูและผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรักษาเด็กที่มีภาวะซนสมาธิสั้นให้ประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครอง ครูและผู้ให้บริการทางการแพทย์มีแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้ ...
    • การพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง และครู ในเขตภาคเหนือ 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; สกนธ์ สุภากุล; Sakon Supakul; กชพงศ์ สารการ; Kotchapong Sarakan; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      ที่มาและความสำคัญ โรคสมาธิสั้นเป็นมีความชุกมากที่สุดเมื่อเทียบกับโรคทางสุขภาพจิตอื่นๆ ในเด็กวัยประถมศึกษา การดูแลร่วมกันระหว่างผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการแพทย์มีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการลดความรุนแรงของอาการและปัญหาเชิง ...
    • การศึกษารูปแบบการนำเครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึมในระยะเริ่มแรกสำหรับเด็กไทยไปสู่การปฏิบัติงานในบริบทจริงของเขตสุขภาพที่ 1 (ปีที่ 2) 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ดวงกมล ตั้งวิริยะไพบูลย์; Duangkamol Tangviriyapaiboon; โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit; หทัยชนก อภิโกมลกร; Hathaichanok Apikomolkorn; ปริวัตร เขื่อนแก้ว; Pariwat Kuankaew; อมรา ธนศุภรัตนา; Amara Thanasuparatana; นพวรรณ บัวทอง; Noppawan Buathong; ชญานิษฐ์ อนันตวรวงศ์; Chayanit Anantavorawong; เสาวรส แก้วหิรัญ; Saowarod Kaewhiran; ชิดาวรรณ สุยะก๋อง; Chidawan Suyakong; มัลลิกา ปัญญาผาบ; Mallika Panyaphab; พลอยพิมพ์ พุทธปวน; Ploypim Puttapuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใช้เครื่องมือวินิจฉัยภาวะออทิสซึมในระยะเริ่มแรกสำหรับเด็กไทย และเพื่อศึกษาแนวทางในการนำเครื่องมือ Thai Diagnostic Autism ...
    • แพลตฟอร์มแอปพลิเคชันคุณลูกสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ 

      กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai; รสวันต์ อารีมิตร; Rosawan Areemit; สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; สุชาอร แสงนิพันธ์กูล; Suchaorn Saengnipanthkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      เด็กและวัยรุ่นเป็นวัยสำคัญที่สมองและร่างกายของเด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์พัฒนาการของเด็กไทยวัย 0-5 ปี ยังพบว่า ปัญหาพัฒนาการล่าช้ายังเป็นปัญหาสำคัญ ซึ่งหากเด็กและวัยรุ่นได้รับการเลี้ยงดูและสร้างเ ...