Now showing items 1-7 of 7

    • การทบทวนขอบเขตและสังเคราะห์องค์ความรู้เรื่องพัฒนาการล่าสุดของนโยบายด้านกัญชา และผลกระทบของนโยบายอนุญาตให้กัญชาถูกกฎหมายในประเทศที่ใช้นโยบายนี้ 

      สาวิตรี อัษณางค์กรชัย; Sawitri Assanangkornchai; วิทย์ วิชัยดิษฐ; Wit Wichaidit; สุกัญญา สมะดอเล๊าะ; Sukanya Samadoloh (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      รายงานฉบับนี้เป็นผลของการทบทวน สังเคราะห์และจัดการองค์ความรู้ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมาตรการควบคุมกัญชา และผลกระทบของการออกกฎหมายอนุญาตให้ใช้กัญชาเพื่อนันทนาการ (Recreational Cannabis Legalization) ในต่างประเทศ ...
    • การทบทวนสถานการณ์ของประโยชน์และโทษที่อาจเกิดจากการใช้กัญชาทางการแพทย์และการเปิดเสรีกัญชา 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; Chosita Pavasuthipaisit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03-31)
      กัญชาเป็นพืชที่มีสารที่ออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทและมีฤทธิ์เสพติดซึ่งพบว่ามีประโยชน์หลายประการ เช่น เพื่อการผ่อนคลาย, ใช้เป็นยาสมุนไพร หรือใช้เส้นใยในการประดิษฐ์สิ่งต่างๆ อย่างไรก็ตาม ก็มีรายงานการวิจัยที่บ่งชี้ว่า กัญชามีผลเส ...
    • การพัฒนารูปแบบการบำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพแบบบูรณาการของการเสพแอมเฟตามีน/กัญชาในวัยรุ่นในระดับจังหวัด 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; Wachara Riewpaiboon; ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล; Teerasak Srisurakul; ธิดารัตน์ นงค์ทอง; Tidarat Nongthong; ดรุณี ภู่ขาว; Darunee Phukao; ธีรนงค์ สกุลศรี; Teeranong Sakulsri; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun; สมยศ แสวงสุข; Somyot Savangsuk; นภาพร สันทบ; Napaporn Suntop; กรรณิการ์ สุจริตจันทร์; Kannikar Sujaritjan; ญานิกา ศรียากูล; Yanika Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      จากสถานการณ์การใช้สารเสพติดในเยาวชนในโรงเรียนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและพบในเยาวชนที่มีอายุน้อยลงไปเรื่อยๆ จนถึงพบได้ในเยาวชนอายุ 12 ปี ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพและชีวิตในอนาคต รวมทั้งสังคมโดยรวม ทั้งนี้ ประเทศไทยมีกฎหมายและนโยบายต่างๆ ...
    • การวิจัยประเมินผลกระทบจากนโยบายกัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      บัณฑิต ศรไพศาล; Bundit Sornpaisarn; วรานิษฐ์ ลำใย; Wiaranist Lamyai; เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล; Chet Ratchadapunnathikul; ชัยสิริ อังกุระวรานนท์; Chaisiri Angkurawaranon; นิศาชล เดชเกรียงไกรกุล; Nisachol Dejkriengkraikul; Jürgen Rehm (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2564)
      ด้วยมีความจำเป็นที่จะต้องมีข้อมูลประเมินผลนโยบายที่ดี หลังจากที่ประเทศไทยมีระบบกัญชาทางการแพทย์เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562 ...
    • การวิจัยเชิงสังเคราะห์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพและเศรษฐศาสตร์ของการใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 

      กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol; น้ำฝน ศรีบัณฑิต; Namfon Sribundit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพและเศรษฐศาสตร์นโยบายกัญชาทางการแพทย์ที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยประกอบด้วยการศึกษา 3 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ การทบทวนวรรณกรรมเพื่อประเมินผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิ ...
    • การศึกษาสถานการณ์การใช้กัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 

      สาวิตรี อัษณางค์กรชัย; Sawitri Assanangkornchai; กนิษฐา ไทยกล้า; Khanittha Thaikla; มูฮัมมัดฟาห์มี ตาเละ; Muhammad Fahmee Talib; สุชาดา ภัยหลีกลี้; Suchada Paileeklee; ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana; ดาริกา ใสงาม; Darika Saingam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      นับตั้งแต่การออกพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ซึ่งบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 และการนิรโทษการครอบครองกัญชา ตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ในวันที่ ...
    • การศึกษาหารหัสพันธุกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในกลุ่มประชากรไทย 

      พีรนิธ กันตะบุตร; Piranit Kantaputra; ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา; Thiravat Hemachudha; สรายุทธ์ บุญชัยพานิชวัฒนา; Sarayuth Boonchaipanitwattana; ล่ำซำ ลักขณาภิชนชัช; Lumsum Lukanapichonchut; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; สำเนา นิลบรรพ์; Sumnao Nilaban; ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ; Thanapat Sastraruji; อลิษา วิลันโท; Alisa Wilantho; ชุมพล งามผิว; Chumpol Ngamphiw; วอทันยู นครศรี; Vorthunju Nakhonsri; ศิษเฎศ ทองสิมา; Sissades Tongsima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      จุดประสงค์ของการวิจัย คือ ต้องการหาการเปลี่ยนแปลงในยีนที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในคนไทย โดยศึกษาในคนไทยที่ติดกัญชา จำนวน 144 คน และคนที่มีประวัติการใช้กัญชาแต่ไม่ติด จำนวน 20 คน ซักประวัติและเก็บเลือดหรือน้ำลายเพื่อไปสกัด ...