Browsing Research Reports by Subject "ยา"
Now showing items 1-20 of 51
-
กลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคายา : ก่อนขาย (หลังขึ้นทะเบียนยา) เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาแห่งชาติ และโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02-27)วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบกลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคายาแบบต่างๆ ที่ต่างประเทศใช้ในระหว่างการขึ้นทะเบียน (ก่อนยาออกจาหน่าย), เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาแห่งชาติ, และโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่ 2. ใช้กรณีศึกษาวิเ ... -
การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ... -
การจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันแบบครบวงจร (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)ผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรง จำนวน 195 ราย ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมในการวิจัยนี้ ผลการศึกษาพบว่าผื่นแพ้ยาชนิด Steven-Johnson syndrome/toxic epidermal necrolysis (SJS/TEN) และ drug reaction with eosinophilia and systemic ... -
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ... -
การทบทวนอย่างเร็ว (Rapid review) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบยาของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09)จากการทบทวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทั้งสิ้น 132 เรื่อง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษพบว่า ความไม่เหมาะสมในการใช้ยาที่ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ของระบบ และลักษณะของงานวิจัยที่มีขนาดเล็ก ต่างคนต่างทำด้วยแนวปฏิบัติที่ต่างกัน ... -
การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ... -
การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)ประเทศไทยยังขาดระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศและมีแนวโน้มที่สูงขึ้น พึ่งพาตนเองได้น้อย ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ... -
การประเมินผลระบบบริการจัดส่งยาทางไปรษณีย์สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ตลอดระยะเวลาสองปีที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดมาตรการและนโยบายในด้านต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา เพิ่มความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยและผู้ให้บริการด้านสุขภาพ โดยหนึ่งในน ... -
การพัฒนากลไกสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระยะที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)การใช้ยาไม่สมเหตุผล ทั้งในสถานพยาบาลรัฐและเอกชน รวมถึงการซื้อยากินเองจากแหล่งกระจายยาไม่เหมาะสมเป็นปัญหาของประเทศไทยที่มีมาอย่างยาวนานกว่า 4 ทศวรรษ ต่อมามีความพยายามในการแก้ไขปัญหา โดยมีการพัฒนาเริ่มจากโรงพยาบาลส่งเสริมก ... -
การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนของประเทศไทย โดยมีรูปแบบการศึกษา 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) การทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Document ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ที่มาและความสำคัญ: ประเทศไทยมีการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์และการดำเนินการเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลมาอย่างต่อเนื่อง จากการมีนโยบายการพัฒนาสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจหาและป้องกันการกระทำระหว่างกันของยาในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจหาและป้องกันการกระทำระหว่างกันของยาในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (ระยะที่ 1) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลและการคิดคำนวณสำหรับการตรวจหาการกระทำระหว่างกันของยาโดยเริ่มต้นจากโ ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อรองรับตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อใช้สำหรับตอบตัวชี้วัดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสมเหตุผลในทุกระดับ มีการดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ... -
การพัฒนาศักยภาพของเภสัชกรในการวิเคราะห์ข้อมูลการสั่งใช้ยาจากฐานข้อมูล OP 18 แฟ้มมาตรฐาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของเภสัชกรผู้ปฏิบัติงานในระบบยาของโรงพยาบาลในการวิเคราะห์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ OP 18 แฟ้ม เพื่อใช้ในการประเมินการเข้าถึงยาภายใต้ระบบประกันสุขภาพ และคุณภาพการสั่งใช้ยา 2. เพื่อพัฒนา ... -
การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทางไกล เพื่อเชื่อมต่อระบบบริการเภสัชกรรมปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)บทนำ: การทำงานเภสัชกรรมปฐมภูมิในชุมชน เภสัชกรต้องทำงานร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพราะ อสม. คือ บุคคลที่ใกล้ชิดกับชุมชนมาก ผลกระทบของโรคโควิด-19 เกิดกับหลายประเทศทั่วโลกและในหลายด้าน รวมถึงระบบสาธารณสุ ... -
การพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)การวิจัยนี้เป็นการประเมินระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy, RDUL) แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDUL ... -
การวิจัยเพื่อพัฒนาการนำเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาไปสู่การปฏิบัติในโรงพยาบาลของรัฐ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)ในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับกันอย่างชัดเจนทั่วโลกแล้วว่าการส่งเสริมการขายยามีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการสั่งจ่ายยาที่ไม่สมเหตุผล ส่งผลทำให้เกิดปัญหาการบริโภคยาเกินจำเป็น บริโภคยาราคาแพงเกินควรทั้งในประเทศกำลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาแล้ว ... -
การวิจัยและพัฒนาสารสนเทศระบบยาเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ยา ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549-สิงหาคม 2550
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การใช้ยาอย่างเหมาะสมมีความสำคัญต่อผลลัพธ์ของการบริบาลผู้ป่วย และของการดำเนินงานระบบสุขภาพ การใช้ยาเกินจำเป็นและใช้ต่ำกว่าที่จำเป็น มีผลต่อคุณภาพการรักษา ในขณะเดียวกัน การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ย่อมมีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายสุขภาพด้วย ...