Browsing Research Reports by Subject "หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า"
Now showing items 1-20 of 30
-
กระบวนการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะที่ 1 : วิเคราะห์สถานการณ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การศึกษาสถานการณ์และการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบคุณภาพ ทั้งนี้พื้นที่เพื่อการศึกษาเป็นแบบการคัดเลือกเฉพาะ (purposive ... -
การกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)ปัญหาการความเหลื่อมล้ำของการกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นปัญหาเรื้อรังของระบบบริการสุขภาพ ที่พบได้ในทุกพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมอยู่แล้ว โดยปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายแ ... -
การคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลอุดรธานี : รายงานการวิจัย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคืนทุนของบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยทำการศึกษาเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง อิงสถิติความชุกของโรค คำนวณต้นทุนบริการทางการแพทย์โดยใช้วิธีมาตรฐาน ... -
การจัดบริการทันตสุขภาพภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตและความเชื่อของประชาชนส่งผลต่อทันตสุขภาพของประชาชนไทย วิถีชีวิตบางอย่างทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น โดยเฉพาะการบริโภคน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น ... -
การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยได้รับเงินงบประมาณสนับสนุนการดำเนินการ เพื่อให้ประชาชนได้รับสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาลและสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วย ... -
การทบทวนความสำเร็จและโอกาสพัฒนาของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามกรอบข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2544
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการดำเนินการ ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตามกรอบข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่เสนอไว้โดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในรายงานการศึกษา ตลอดจนค้นหาข้อมูลป้อ ... -
การประเมินนโยบายกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 11 เพื่อสนับสนุนการดำเนินนโยบายในระยะถัดไป
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)นโยบายทางด้านสุขภาพในประเทศไทย ได้ใช้แนวคิดในการกระจายอำนาจลงสู่ท้องถิ่นตามที่ระบุอยู่ใน พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 47 และ พ.ร.บ. กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น พ.ศ.2542 โดยเน้นส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ... -
การประเมินผลการให้บริการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของร้านยาในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)บทนำ : บริการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของร้านยาเป็นนโยบายของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาลรัฐและทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการ เริ่มมีการให้บริการตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 การประเมิน ... -
การประเมินผลเพื่อพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพกองทุนสุขภาพระดับตำบลในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าภายใต้แนวคิดการบริหารจัดการที่ดี
(สำนักงานพัฒนานโยบายสาธารณสุขระหว่างประเทศ, 2553-01)การประเมินผลเพื่อพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพกองทุนสุขภาพระดับตำบลในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าภายใต้แนวคิดการบริหารจัดการที่ดี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินสถานการณ์การดำเนินงานโดยรวมของกองทุน 2) วิเคราะห์สภาพจริงของการ ... -
การพัฒนากองทุนสุขภาพระดับตำบลเพื่อการสร้างเสริมและป้องกันโรคในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2549-2552
(แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2552-02) -
การพัฒนาข้อเสนอแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าระยะที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552)การศึกษานี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากการดำเนินงานของแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ... -
การวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : บัญชีรายจ่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ประเทศไทย พ.ศ. 2549-2552
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2553-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนและกำกับติดตามการดำเนินงานด้านนี้ และมีวัตถุประสงค์เฉพาะคือ 1. เพื่อศึกษาแนวโน้มสถานก ... -
การวิเคราะห์ผลกระทบและประเมินผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค) ได้รับความสนใจอย่างมากจากทั้งภาครัฐและภาคประชาชนตั้งแต่ระยะแรกเริ่มจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเป็นโครงการที่มีผลกระทบต่อผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการรักษาพยาบาลอย่างกว้างขวาง ... -
การวิเคราะห์และพยากรณ์ค่าใช้จ่ายด้านยาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-08-31)ค่าใช้จ่ายด้านยาเป็นส่วนสำคัญของค่าใช้จ่ายโดยรวมด้านสุขภาพ และมีการเติบโตอย่างรวดเร็วในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการผู้ป่วยนอก การวิจัยนี้วิเคราะห์ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของการสั่งใช้ยาในปี 2546 – 2550 สำหรับกลุ่มข้อบ่งใช้ ... -
การศึกษาภาพอนาคตและเส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืนของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-11)จากการทบทวนสถานการณ์ในระบบหลักประกันสุขภาพของไทยพบว่าประเทศไทยประสบความสําเร็จในการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้แก่ประชาชนอย่างดีในระดับหนึ่ง หากพิจารณาผลสัมฤทธิ์เชิงนโยบายพบว่าในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา นโยบายการขยายหลักประ ... -
การศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนหรือกำไรหลักจากปีแรกของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลที่มีผลดำเนินการกำไร โดยวิเคราะห์จากข้อมูลของโรงพยาบาลทั่วประเทศที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 640 โรงพยาบาล ... -
การสร้างภาพอนาคตระบบและเส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-10)การสร้างภาพอนาคต (scenario) เป็นวิธีการมองอนาคต (foresight) อย่างหนึ่งที่มีรากฐานมาจากวิธีการเดียวกันของ future study แต่มีที่จุดเด่นของการมองอนาคตแบบ foresight กล่าวคือเน้นให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมและพยายามประมวลควา ... -
การให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้การจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)“สร้างนําซ่อม” เป็นหลักการและจุดมุ่งหมายที่สําคัญของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ได้มีการกําหนดไว้ในระดับนโยบาย ด้วยเหตุนี้ทําให้การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเป็นองค์ประกอบหลักประการหนึ่งของการสร้างหลักประกันสุ ... -
ข้อเสนอหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : รายงานการศึกษาประกอบการปฏิรูประบบสุขภาพและการร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ....
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)เอกสารงานวิจัยชิ้นนี้เป็นผลผลิตจากความเพียรพยายามและสติปัญญาของนักวิชาการ และนักกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสุขภาพกลุ่มหนึ่ง ที่ได้ร่วมกันศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการจัดบริการและการคลังสุขภาพของประเทศไทยที่ผ่านมา ทบทวนทางเลือกและกลวิธ ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบายชุดโครงการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2553)