Now showing items 1-20 of 20

    • กระบวนการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะที่ 1 : วิเคราะห์สถานการณ์ 

      ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์; Thorngwut Doungratanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาสถานการณ์และการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบคุณภาพ ทั้งนี้พื้นที่เพื่อการศึกษาเป็นแบบการคัดเลือกเฉพาะ (purposive ...
    • การคัดเลือกชุดทดสอบสารหนูภาคสนามสำหรับใช้งานในเขตอำเภอร่อนพิบูลย์ 

      อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม; Uraiwan Madardam; วิไลวรรณ พุทธพฤกษ์; ประสิทธิ์ คงทอง; Wilaiwan putttapruk; Prasit Kongthong; โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์; Ronpibun Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาที่สําคัญของงานสาธารณสุขในปัจจุบันของอำเภอร่อนพิบูลย์ คือ การขาดข้อมูลที่ชี้ให้เห็นถึงการปนเปื้อนของสารหนูหลังจากที่ได้พบการปนเปื้อนสารหนูในน้ำบ่อตื้นในอ.ร่อนพิบูลย์ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2529 เป็นต้นมา ได้มีความพยายามในหลายๆ ...
    • การจัดการระบบผลิตน้ำดื่มเพื่อลดปัญหาการปนเปื้อนสารหนูด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน 

      พิกุล วณิชาภิชาติ; Phikul Wanichaphichat; พรทิพย์ ศรีแดง; อภิรดี แซ่ลิ่ม; โชโกะ โอชิกาว่า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการทดลองโดยการติดตั้งระบบการกรองน้ำผ่านเทคโนโลยีเมมเบรนซึ่งผ่านเยื่อกรอง 2 ชั้น ได้แก่ เยื่อกรองหยาบ 0.5 ไมครอน และเยื่อกรองละเอียดระดับรีเวอรสออสโมซิส ขนาด 4 x 40 นิ้ว ชนิด Polyamide thin film composite ...
    • การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri; วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitool Lohsoonthorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รายงานการศึกษา การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ ศึกษาขอบเขต แนวทางการประเมินคุณภาพการดูแล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการดูแล คุณภาพของการดูแล ทั้งสถานการณ์ในประเทศไทยและสถานการณ์ในต่างประเทศ อุปสรรคของการดูแล ...
    • การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเภสัชกรชุมชน (ความดันโลหิตสูงและวัณโรคปอด) 

      พยอม สุขเอนกนันท์; Phayom Sukanaknan; อุษาศิริ ศรีสกุล; วิลาสินี หิรัญพานิช; มนสา สุนารัตน์; Usasiri Srisakul; Wilasinee Hirunphanit; Monsa Sunarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง)โดยเภสัชกรชุมชน พบว่าการมีส่วนร่วมของเภสัชกรในการติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชนในประเทศไทย ยังไม่เป็นบทบาทที่ชัดเจนทั้งตัวเภสัชกรเองและวิชาชีพอื่น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่ ...
    • การประยุกต์ใช้วิธี Collaborative Quality Improvement : กรณีศึกษาการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      โครงการวิจัยนี้ เป็นโครงการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของการใช้วิธีการ Collaborative Quality Improvement ในการป้องกันปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (VAP) ในหออภิบาลผู ...
    • การปรับวิถีชีวิตในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri; วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitool Lohsoonthorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      เนื้อหาประกอบด้วย หลักฐานทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับวิถีชีวิตและความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ประสิทธิภาพของการปรับวิถีชีวิตต่อการลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความคุ้มค่าของการปรับวิถีชีวิตต่อการลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ...
    • การพัฒนาระบบความปลอดภัยของสถานพยาบาล 

      สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; Suwat Wiriyapongsukit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      จากข้อมูลการศึกษาผลกระทบต่อการจัดบริการสุขภาพ และผลกระทบต่อบุคลากร พบว่ามีความพยามยามแก้ปัญหาด้วยวิธีการหลากหลายทั้งการลดบริการเชิงรุกนอกสถานพยาบาลทั้งการเยี่ยมบ้าน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน ตลอดจนการปรับเปลี ...
    • การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัดในโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย 

      นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การเฝ้าระวังการติดเชื้อที่ตําแหน่งผ่าตัดของประเทศไทยในปัจจุบัน มีความแตกต่างกันอย่างมาก ทําให้ข้อมูลไม่สามารถนํามาเปรียบเทียบกันได้ การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดเป็นวิธีการสําคัญในการพัฒนามาต ...
    • การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ไข้หวัดนกในประเทศไทย 

      ปรีชา เปรมปรี; ฉันทนี บูรณะไทย; เสาวพักตร์ ฮิ้นจ้อย; ถนอม น้อยหมอ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกในสัตว์และคนตั้งแต่ปลายปี 2546 จนถึงปัจจุบัน (ข้อมูลถึงมกราคม 2549) ได้มีการแพร่ระบาดได้เกิดขึ้นจำนวนสามรอบ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยและนานาประเทศเป็นอย่างมาก ...
    • การศึกษาระบาดวิทยาและผลการรักษาของผู้ป่วยผู้ใหญ่โรคมะเร็งโลหิตวิทยาในประเทศไทย 

      สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย; Thai Society of Hematology (สมาคม, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาระบาดวิทยาโรคมะเร็งทางโลหิตวิทยา วิธีการรักษา การใช้เทคโนโลยีการวินิจฉัยและรักษา ผลการรักษาโรคผู้ป่วยผู้ใหญ่โรคมะเร็งโลหิตวิทยา เพื่อนำข้อมูลไปกำหนดแนวทางการรักษาโรคที่เป็นมาตรฐานเ ...
    • การส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานชนิดไม่พึงอินสุลินในชุมชนเขตเทศบาลเมืองนครพนม 

      อำพล หงษ์งาม; Amphol Hongngam; พีระ อารีรัตน์; รุจิรา ดวงสงค์; สกนธ์วรรณ เติมทานาม; Pheraphol Areerat; Ruchira Duangsong; Sakhonwan Toemtanam (โรงพยาบาลนครพนม, 2543)
    • ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นทำให้โรคเรื้อรังที่เป็นผลจากการเสื่อมของสภาพร่างกาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคปอดอักเสบเรื้อรัง เป็นต้น กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ทั้งในประเท ...
    • บทบาทของร้านยากับงานควบคุมวัณโรค 

      มาลี โรจน์พิบูลสถิตย์; Malee Rotphiboonsatit; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ชุดโครงการบทบาทของร้านยากับงานควบคุมวัณโรค ประกอบด้วย 2 โครงการย่อย ดังนี้ โครงการย่อยที่ 1: ความล่าช้าในการไปตรวจรับการรักษาและความล่าช้าในการตรวจวินิจฉัยของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ในจังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดคว ...
    • พัฒนาดัชนี Diabetes risk score 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekphakorn (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการประเมินความเสี่ยงต่อเกิดเบาหวาน จากแบบสอบถามและการวัดดัชนีความอ้วน ใช้ข้อมูลการศึกษาทางระบาดวิทยาในกลุ่มพนักงานไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (EGAT study) ในการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงของการเกิ ...
    • ระบาดวิทยาของโรคเบาหวาน ปัจจัยเสี่ยงและการตรวจคัดกรองในประเทศไทย 

      วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitool Lohsoonthorn; วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษาระบาดวิทยาของโรคเบาหวานเป็นการศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเจ็บป่วย (Morbidity rate) และอัตราตาย (Mortality rate) ของโรคเบาหวาน และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ทําให้ทราบถึงขนาดของโรคเบาหวานในประเทศไทยว่ามีมากน้อยเพียงใด ...
    • สถานการณ์สถานะสุขภาพในเด็กและเยาวชน 

      ตวงทิพย์ ธีระวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      แนวโน้มของปัจจัยเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์สูง ในปี พ.ศ. 2539-2540 อัตราการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์สูงสุด และมีแนวโน้มที่ลดลงในปีต่อ ๆ มาจนถึงปัจจุบัน สถานการณ์ด้านทันตกรรมในเด็กและเยาวชนจะกล่าวถึงทั้งเรื่องของสภา ...
    • องค์ความรู้การป้องกันและรักษาโรคเฉพาะสตรีของหมอพื้นบ้านภาคใต้ของประเทศไทย 

      อรุณพร อิฐรัตน์; Arunporn Ittharat; รักษ์เกียรติ จิรันธร; ปราณี รัตนสุวรรณ; ทิพธิดา ธารสิริโรจน์; ธิดา โสตถิโยธิน; Rugkeart Chirunthorn; Pranee Rattanasuwan; Thipthida Tarnsiriroj; Tida Sottiyotin; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การวิจัยเรื่อง องค์ความรู้การป้องกันและรักษาโรคเฉพาะสตรีของหมอพื้นบ้านภาคใต้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษาองค์ความรู้และภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในภาคใต้ของประเทศไทย ตลอดจนวิเคราะห์การใช้สมุนไพรใน ...
    • แนวคิดและภาคปฏิบัติการเรื่องชุมชนในการเผชิญปัญหาเอดส์ของสังคมไทย : กรณีศึกษานโยบายการดูแลผู้ป่วยและผู้ติดเชื้อที่บ้านและในชุมชน 

      สุชาดา ทวีสิทธิ์; Suchada Taweesit; จันทิมา เอี่ยมานนท์; Chateema Aiamanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      รายงานวิจัยนี้เป็นการนำเสนอบทสังเคราะห์แนวคิดและอุดมการณ์ว่าด้วยเรื่องชุมชนที่ปรากฏอยู่ในแนวทางการทำงานเพื่อจัดการกับปัญหาและผลกระทบของโรคเอดส์ในประเทศไทย นับตั้งแต่พบการระบาด ข้อมูลหลักที่ใช้ในการสังเคราะห์เป็นข้อมูลทุต ...
    • โครงการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กรณีศึกษาใน 4 จังหวัด 

      พีระมน นิงสานนท์; Peeramon Ningsanond; พัฒน์พงษ์ อุดมพัฒน์; ศิริพร ขุมทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เป็นแนวทางหลักที่มีความสำคัญของยิ่งของกระทรวงสาธารณสุข และได้มีการดำเนินการและพัฒนาการมาอย่างยาวนาน ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งระบบสาธารณสุขจากโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลกระทบทำให ...