Now showing items 1-16 of 16

    • การค้นหาแนวคิดเรื่องสิทธิและความเป็นธรรมในสุขภาพจากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการปฏิรูปการดูแลสุขภาพในประเทศไทย 

      สุวจี จันทร์ถนอม-กู๊ด; Suvajee Chanthanom-Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การค้นหาแนวคิดเรื่องสิทธิและความเป็นธรรมในสุขภาพจากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการปฏิรูปการดูแลสุขภาพในประเทศไทย การค้นหาแนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและความเป็นธรรมทางสุขภาพ จากมุมมองของสังคมและ วัฒนธรรมไทย เป็นงานวิจัยที่พยาย ...
    • การพัฒนาคู่มือการดำเนินการ การบริการแบบบูรณาการประชาชนเป็นศูนย์กลาง 

      นภาพร วาณิชย์กุล; Napaporn Wanitkun; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์; Ketsarin Utriyaprasit; ทิพา ต่อสกุลแก้ว; Tipa Toskulkao; สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์; Suchada Pattaramongkolrit; สุพินดา เรืองจิรัษเฐียร; Supinda Ruangjiratain; วรรณี นิธิยานันท์; Wannee Nitiyanant; วีรนุช รอบสันติสุข; นิพนธ์ เจริญกิจการ; Nipon Charoenkitkarn; วชิรศักดิ์ วานิชชา; Vajirasak Vanijja; จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ; Chularat Tanprasert; ธีระวัฒน์ วงษ์ศรีสังข์; สุธิดา กุลวัฒนาภรณ์; Suthida Goollawattanaporn; ชัยวุฒิ สีทา; Osborne, Richard; Batterham, Roy; Dowson, Sarity (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบคู่มือการให้บริการการจัดการโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง บนพื้นฐานการบูรณาการการดูแลแบบประชาชนเป็นศูนย์กลาง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ แบ่งเป็น ...
    • การพัฒนาและติดตามประเมินผลระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในประเทศไทย 

      สำนักงานโครงการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข; Health Care Reform Project; เครือข่ายวิจัยและพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนากลไกการกำกับประเมินผล และชุดตัวชี้วัดในด้านผลลัพธ์งานของระบบบริการปฐมภูมิที่วัดผลและเปรียบเทียบกันได้ระหว่างหน่วยบริการในพื้นที่ต่างๆ มากกว่าตัวชี้วัดที่กระบวนการบริการ เพื่อให้เกิด ...
    • การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อปฏิรูประบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ : กรณีศึกษาภาคกลาง อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

      สุปาณี เสนาดิสัย; Supranee Saynadisai; ไพเราะ ผ่องโชค; วชิรา กสิโกศล; ปาริชาติ โรจน์พลากร; อัจฉรียา ปทุมวัน; Phairo Phongchok; Wachira Kasisol; Parichat Rotpalakorn; Achareeya Patumwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาการปฏิรูประบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ: ระยะที่ 2 กรณีศึกษาชุมชนภาคกลาง: เขตอำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2545 ถึง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2546 มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษากระบวนการจัดบริการ ...
    • การศึกษาประสิทธิผลของการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตปทุมวัน ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จอนผะจง เพ็งจาด; Johnphajong Phengjard; กนกวรรณ สุวรรณปฏิกรณ์; ประภาพร จินันทุยา; ฐิติภา หลิมสุนทร; Kanogwan Suwanpatikorn; Prapaporn Jinuntuya; Titipa Limsunthorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และเพื่อศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อบริก ...
    • การสำรวจสภาวะประชาชนที่มาใช้บริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลขอนแก่น ปี พ.ศ. 2540 

      วีระพันธ์ สุพรรณไชยมาตย์; Weerapan Supanchaimat; สุวรรณา กิตติศรีวรพจน์; สุภาพร ตันติพานิชธีระกุล; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; ธานินทร์ หอมปลื้ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การสำรวจสภาวะของประชาชนที่มาใช้บริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยาการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงลักษณะของผู้มาใช้บริการที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยาในด้านการ กระจายของที่พักอาศัย ...
    • การเกิดซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบในนักเรียนประถมศึกษาที่รับการขูดหินน้ำลายโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 

      จอนสัน พิมพิสาร; Johnson Pimpisarn; ปราณี ปัญญายงค์; มนัสศรา อัจฉริยเมธากุล; ดวงใจ แย้มกระโทก; รณชัย อัจฉริยเมธากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การเกิดขึ้นซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบในเด็กนักเรียนประถมศึกษา การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเกิดขึ้นซ้ำของหินน้ำลายและเหงือกอักเสบของเด็กนักเรียนประถมศึกษา อายุ 10-12 ปี ในกลุ่มโรงเรียนที่มีการแป ...
    • การให้บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้การจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      “สร้างนําซ่อม” เป็นหลักการและจุดมุ่งหมายที่สําคัญของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ได้มีการกําหนดไว้ในระดับนโยบาย ด้วยเหตุนี้ทําให้การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคเป็นองค์ประกอบหลักประการหนึ่งของการสร้างหลักประกันสุ ...
    • ข้อเสนอการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับต้นของไทย ในการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ และในร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 

      ปรีดา แต้อารักษ์; ปาณบดี เอกะจัมปกะ; สุทธิสารณ์ วัฒนมะโน; รุจิรา ทวีรัตน์; จุฑามาศ โมฬี; สุรศักดิ์ อธิคมานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      จากการวิเคราะห์สถานการณ์ของระบบบริการสุขภาพระดับต้นของไทยและต่างประเทศ การสำรวจความคิดเห็นของบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข นักวิชาการ และประชาชน การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และการประชุมระดมสมอง 2 ครั้ง ได้นำมาซึ่งประเด็นแล ...
    • ข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2548-12)
      เพื่อศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และโอกาสพัฒนาในระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศอย่างรอบด้าน เพื่อจัดทำข้อเสนอทางวิชาการเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพของประเทศ ให้เป็นแนวทางเพื่อให้เกิดการผลักดันการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงหลักประกั ...
    • ทบทวนสภาพปัญหาและการวิจัยเกี่ยวกับระบบยาของประเทศไทย : เอกสารประกอบการประชุมระดมสมองจัดทำแผนงานศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบยา 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์; Misnistry of Public Health. Bureau of Health Policy and Strategy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ระบบยามีองค์ประกอบย่อยอันได้แก่ องค์กร บุคคล กระบวนการ และการดําเนินกิจกรรมที่มีความหลากหลายและซับซ้อน นอกจากนี้ระบบยายังมีความสัมพันธ์กับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกระบบสุขภาพในหลายลักษณะ ดังนั้น การพัฒนาระบบยาจึงจําเป็นต้อ ...
    • บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2537-2544 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      ผลการจัดทำบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ ระยะที่ 3 พบว่า รายจ่ายสุขภาพทั้งหมด (Total health expenditure-THE) ของประเทศไทยปีงบประมาณ พ.ศ. 2544 มีมูลค่า ณ ราคาประจำปีเท่ากับ 170,203 ล้านบาท (รวมการสะสมทุน) รายจ่ายสุขภาพของประเ ...
    • ผลกระทบของนโยบาย 30 บาท ต่อระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช : ภาพรวมระดับประเทศและกรณีศึกษาสถานพยาบาลเฉพาะทางจิตเวชในภาคเหนือของประเทศไทย 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อาจมีจุดอ่อน ผู้ให้บริการมี/รับความเสี่ยง เลือกเฉพาะผู้ป่วยท ...
    • ราคายานำเข้าจากสหรัฐอเมริกา 

      ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; Duangtip Hongsamoot; Schondemeyer, Stephen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การศึกษาราคายานำเข้าจากสหรัฐอเมริกาการศึกษาราคายานำเข้าจากสหรัฐอเมริกาเป็นการเปรียบเทียบราคายาที่จำหน่ายในสหรัฐอเมริกาแล้วนำเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างในการศึกษามี 209 รายการ มาดำเนินการเปรียบเทียบราคายาได้ ...
    • ลักษณะปัญหาการรับบริการสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพต่างๆ 

      วิจิตร ระวิวงศ์; Wichit Rawiwong; ชาย ธีระสุต; ประวิ อ่ำพันธ์ุ; ทิพากรณ์ โพธิ์ถวิล; ธัญญา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ลักษณะปัญหาการรับบริการสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพต่าง ๆ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพปัญหาของผู้รับบริการภายใต้ระบบประกันสุขภาพ 5 ระบบที่มีอยู่ในปัจจุบันและผู้รับบริการที่อยู่นอกระบบประกันสุขภาพ 2) ...
    • สถานการณ์สุขภาพในเขตภาคเหนือตอนบน 

      รัตนา พันธ์พานิช; Ratana Phanphanit; เกรียงไกร ศรีธนวิบุลชัย; เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Kiakrai Sritanawiboolchai; Penphapa Siwirot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      บทความนี้เป็นการศึกษาทบทวนสถานการณ์สุขภาพและแนวโน้มของปัญหาอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และระบบบริการสุขภาพ ประเด็นการทบทวนแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ แนวโน้มปัญหาสุขภาพ 2) ระบบบริการสุขภาพ และ 3) ...