Now showing items 1-7 of 7

    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      บทนำ : จากการจัดลำดับความสำคัญและการคัดเลือกการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ (คู่ยีน-ยา) ที่ควรนำมาพิจารณาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ...
    • การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ 

      ณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์; Nut Koonrungsesomboon; ดำเนินสันต์ พฤกษากร; Dumnoensun Pruksakorn; มิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่ง; Mingkwan Na Takuathung; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ภรัณยา ชัยวัฒน์; Parunya Chaiyawat; สาลินี จันทราภิรมย์; Salinee Jantrapirom; ปารเมศ เทียนนิมิตร; Parameth Thiennimitr; ศุภนิมิต ทีฆชุณหเถียร; Supanimit Teekachunhatean (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      กรดมัยโคฟีโนลิค (MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการป้องกันการต่อต้านการปลูกถ่ายอวัยวะและอยู่ระหว่างการศึกษาประสิทธิผลของยาต่อการต้านมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ที่ได้รับยาชนิดนี้แต่ละคนมีค่าเภสัชจล ...
    • การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ (ระยะที่ 2) 

      ณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์; Nut Koonrungsesomboon; ดำเนินสันต์ พฤกษากร; Dumnoensun Pruksakorn; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ณหทัย ดูแก้ว; Nahathai Dukaew; ภรัณยา ชัยวัฒน์; Parunya Chaiyawat; มิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่ง; Mingkwan Na Takuathung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      กรดมัยโคฟีโนลิค (Mycophenolic acid, MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการป้องกันการต่อต้านการปลูกถ่ายอวัยวะและอยู่ระหว่างการศึกษาประสิทธิผลของยาต่อการต้านมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ที่ได้รับยาชนิดนี้ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ ในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต 

      ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-28)
      การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation : KT) ช่วยยืดอายุผู้ป่วยไตวาย KT จำเป็นต้องใช้สารกดภูมิคุ้มกัน เช่น Tacrolimus (TAC) และ Mycophenolate mofetil (MMF) เพื่อป้องกันการปฏิเสธไตของผู้บริจาค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียไต ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยาที่เป็นสาเหตุหลักในประเทศไทย (ปีที่ 2) 

      นนทญา นาคคำ; Nontaya Nakkam; วิจิตรา ทัศนียกุล; Wichittra Tassaneeyakul; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; ศิริมาศ กาญจนวาศ; Sirimas Kanjanawart; ปริญญา คนยัง; Parinya Konyoung; กันยารัตน์ แข้โส; Kanyarat Khaeso (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      อาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนังชนิดรุนแรงจากยา (Severe Cutaneous Adverse Drug Reactions, SCARs) จัดเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่มักไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์หรือขนาดยา ซึ่งมีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ โดยยาที่เป็นปัญหาสำคัญอันดับต้นๆ ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ของยากลุ่ม Thiopurine ในผู้ป่วยเด็กมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดลิมโฟบลาสต์ 

      อภิชญา พวงเพ็ชร์; Apichaya Puangpetch; สามารถ ภคกษมา; Samart Pakakasama; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem; อุษณรัสมิ์ อนุรัฐพันธ์; Usanarat Anurathapan; การันต์ ไพสุขศาสนติวัฒนา; Karan Paisooksantivatana; สุภาพร วิวัฒนากุล; Supaporn Wiwattanakul; ลลิตา สาธิตสมิตพงษ์; Lalita Sathitsamitphong; อังคณา วินัยชาติศักดิ์; Angkana Winaichatsak; ปิติ เตชะวิจิตร์; Piti Techavichit; ปิยะ รุจกิจยานนท์; Piya Rujkijyanont; อาณัฐชัย ม้ายอุเทศ; Arnatchai Maiuthed; ภัทรวิทย์ รักษ์ทอง; Pattarawit Rukthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน Lymphoblastic (Acute Lymphoblastic Leukemia, ALL) เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็กที่พบบ่อยที่สุด ซึ่งได้รับการวินิจฉัยในเด็ก คิดเป็นร้อยละ 25 ของมะเร็งทั้งหมดในเด็ก การรักษาโดยทั่วไปประกอบด้วย ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; ศยามล สุขขา; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; นุสรา สัตย์เพริศพราย; สาครินทร์ บุญบรรเจิดสุข; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-25)
      การใช้ยาสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ ซึ่งจะส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ตลอดจนรวมถึงค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...