Now showing items 481-500 of 2379

    • การพัฒนารูปแบบการป้องกันอันตรายจากการทำงานของคนงานแปรรูปหมอนยางพารา จังหวัดนครศรีธรรมราช 

      ศิริพร ด่านคชาธาร; Siriporn Darnkachatarn; จันจิรา มหาบุญ; Junjira Mahaboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการรับรู้ความเสี่ยงและพฤติกรรมการป้องกัน ควบคุมความเสี่ยงจากการทำงานของคนงานแปรรูปหมอนยางพารา 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ความเสี่ยงและพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมคว ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์ของการเกิดวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีซีดีสี่ที่ต่างกันหลังได้รับยาต้านไวรัสและนวัตกรรมการอ่านผลการทดสอบทูเบอร์คูลินทางผิวหนังด้วยตัวเองเพื่อคัดกรองหาวัณโรคแฝงในผู้ป่วยเอชไอวี 

      กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      บทนำ: การให้ยารักษาวัณโรคระยะแฝงในผู้ป่วยเอชไอวีในประเทศไทยยังไม่ได้มีการใช้อย่างแพร่หลายน่าจะเกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย แต่หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่สุด คือ แพทย์ส่วนใหญ่คิดว่า การให้ยาต้านไวรัสเพียงอย่างเดียวจะสามารถลดอุบัต ...
    • การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานโดยใช้ระบบทะเบียนวัณโรคแบบอิเล็กทรอนิกส์ 

      ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin; ก่อพงษ์ ทศพรพงศ์; Koapong Tossapornpong; จันทิรา สุขะสิฐษ์วณิชกุล; Junthira Sukhasitwanichkul; ณฐกร จันทนะ; Nathakron Chantana; อำนาจ คำศิริวัชรา; Amnat Khamsiriwatchara; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
      การเฝ้าระวังวัณโรคด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic TB surveillance) มีประโยชน์ทั้งในการเก็บข้อมูลผู้ป่วยระดับบุคคลและการวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวม ทำให้ทราบภาพรวมและความคืบหน้าของการดูแลวัณโรคในระดับประเทศได้อย่างรวดเร็ว ...
    • Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ; Mukdavan Prakobvaitayakit; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; อุษาวดี สุตะภักดิ์; Usawadee Sutapuk; กรรณิการ์ กิจติเวชกุล; Kannikar Kijtiwatchakul; นพวรรณ อังกูรศันสนีย; Noppawan Angkulsansanee; สิริลักษณ์ บัวเจริญ; Siriluk Buacharoen; ลภัสรดา อึ๊งเจริญ; Lapasrada Aungcharoen; พนิตา สุวรรณน้อย; Panita Suwannoi; สุกัณฑา หมวดทอง; Sukunta Muadthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ความเป็นมา: การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคนิค ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์และมีปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปบทเรียนการทำงานขององค์การเภสัชกรรม ...
    • ผลการวิเคราะห์ต้นทุนรายโรค ระยะที่ 1 ปีที่ 3 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนากลุ่มโรคร่วมไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ข้อมูลต้นทุนต่อหน่วยของกิจกรรมบริการทางการแพทย์ เป็นข้อมูลพื้นฐานสำคัญในการคำนวณต้นทุนต่อหน่วยของชุดการบริการและข้อมูลต่อหน่วยของรายโรค ซึ่งเป็นฐานข้อมูลสำคัญประกอบการคำนวณอัตราจ่ายของกองทุนประกันสุขภาพทุกกองทุน ...
    • รายงานการศึกษาสาเหตุการตายของกลุ่มตัวอย่างในการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; วรางคณา จันทร์คง; Warangkana Chankong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ข้อมูลทางสุขภาพที่บ่งชี้ปัญหาทางสุขภาพของประชาชนได้ดีข้อมูลหนึ่งคือข้อมูลสาเหตุการตาย อย่างไรก็ตามคุณภาพข้อมูลนี้ โดยเฉพาะความถูกต้องของการวินิจฉัยสาเหตุการตาย ที่ผ่านมายังมีช่องว่างให้พัฒนาอยู่อีกมาก ทั้งในส่วนที่มีการต ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาร้านยาคุณภาพที่เป็นหน่วยร่วมบริการกับคลินิกหมอครอบครัว 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; วัชรพงษ์ รินทระ; Watcharapong Rintara; อุษณีย์ วนรรฆมณี; Usanee Wanakamanee; ชวนชม ธนานิธิศักดิ์; Chuanchom Thananithisak; พจนาลัย อนุสรณ์พาณิชกุล; Podjanalai Anusornpanichakul; เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง; Pentipa Kaewketthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      บทนำ: การทำงานของคลินิกหมอครอบครัวมีข้อจำกัดคือเภสัชกรไม่เพียงพอ ร้านยาที่เป็นหน่วยร่วมบริการสามารถช่วยเติมเต็มระบบการทำงานด้านเภสัชกรรมให้สมบูรณ์ขึ้น วิธีการวิจัย: วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action ...
    • สถานการณ์การจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบบริการสุขภาพของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 

      รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; รุ่งนภา จันทรา; Rungnapa Chantra; วิไล อุดมพิทยาสรรพ์; Wilai Udompittayason; บุบผา รักษานาม; Buppha Raksanam; เบญจวรรณ ช่วยแก้ว; Benjawan Chuaykaew; ศักรินทร์ สุวรรณเวหา; Sakarin Suwanvaha; วาริสา ทรัพย์ประดิษฐ; Warisa Suppradist; นำพร สามิภักดิ์; Numporn Samiphuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      งานวิจัยเรื่อง สถานการณ์การจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบบริการสุขภาพของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ ผลลัพธ์ของการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงานและปัจจั ...
    • การพัฒนากฎหมายสาธารณสุขในการอภิบาลผู้ป่วยจากยาเสพติดในวัยรุ่น 

      อิงครัต ดลเจิม; Ingkarad Doljerm; ธานี วรภัทร์; Thanee Vorapatr; ไพโรจน์ บุญศิริคำชัย; Pairoj Boonsirikumchai; จิรวุฒิ ลิปิพันธ์; Jirawut Lipipun; กอบกูล จันทวโร; Kobgoon Jantawaro; วิเชษฐ์ สินประสิทธิ์กุล; Wichet Sinprasitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-14)
      งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาของผู้ป่วยยาเสพติด ต้องการให้เห็นปัญหาทางกฎหมายที่จะพัฒนาระบบการบำบัดดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในวัยรุ่นที่เป็นปัญหาของประเทศไทย ศึกษาทบทวนและวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายต่างๆ ของประเทศไทย ...
    • การรักษาภาวะขาขาดเลือดขั้นวิกฤติจากโรคเบาหวานโดยการใช้เซลล์ต้นกำเนิด ระยะที่ 1 (ปีที่ 1) 

      ณัฐวุฒิ เสริมสาธนสวัสดิ์; Nuttawut Sermsathanasawadi; ณัฐพล เครือคำหล่อ; Nuttapol Chruewkamlow; วรรณชัย ชินฉลองพร; Wanchai Chinchalongporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-11)
      ภาวะขาขาดเลือดส่วนปลาย (PAD) สามารถพบได้บ่อยในผู้ป่วย atherosclerotic syndrome ซึ่งมีอัตราการตายที่สูงในผู้ป่วยกลุ่มนี้ การรักษาโรคนี้ไม่ว่าจะเป็น PAD หรือผู้ป่วยภาวะขาขาดเลือดขั้นวิกฤติ (Critical limb ischemia (CLI)) ...
    • แนวทางปฏิบัติที่ดีในผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกไต (ปีที่ 3) 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem; ดิเรก บรรณจักร์; Derek Bunnachak; ศุภโชค มาศปกรณ์; Supachok Maspakorn; เติมพงศ์ เรียนแพง; Termpong Reanpang; ชนาวิทย์ สิทธิสมบัติ; Chanawit Sitthisombat; วุฒิกร ศิริพลับพลา; Wuttikorn Siriplubpla (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      จุดประสงค์: จากแนวทางการปฏิบัติแนะนำ (guideline) ทั้งในประเทศและต่างประเทศแนะนำว่าผู้ป่วยที่มีไตวายระยะสุดท้าย การฟอกไตควรทำผ่านเส้น (arteriovenous access ; AVA) โดยไม่ควรมีการแทงสายชั่วคราวมาก่อน (central venous catheter ...
    • ระบบเกมโลกเสมือนจริงสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 

      จักรกริช กล้าผจญ; Jakkrit Klaphajone; ปกรณ์ วิวัฒน์วงศ์วนา; Pakorn Wivatvongvana; นพพล ชูศรี; Noppon Choosri; ปฏิสนธิ์ ปาลี; Patison Palee; ศุภรา กรุดพันธ์; Supara Grudpan; ศิรประภา วัฒนากุล; Siraprapa Wattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ในการบำบัดฟื้นฟูผู้ป่วยตามหลักการเวชศาสตร์ฟื้นฟูโรคผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการฝึกปฏิบัติออกกำลังกล้ามเนื้ออย่างเต็มที่ ปัญหาของการบำบัดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหรือการบาดเจ็บสมองที่พบบ่อย ได้แก่ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคต 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; วาสินี วิเศษฤทธิ์; Wasinee Wisestrith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ประชากรสูงอายุในสังคมไทย ประกอบกับปัญหาโรคเรื้อรังจะส่งผลทำให้ผู้สูงอายุอยู่ในภาวะพึ่งพาและต้องการการดูแลมีจำนวนมากขึ้น การจัดระบบบริการการดูแลระยะยาวเพื่อสามารถให้บริการที่ครอบคลุมทุกมิติด้านสุขภาพและสังคม ...
    • การศึกษาระบาดวิทยาและการควบคุมของเชื้ออซีเนโตแบคเตอร์ บอมมานิไอและเอนเทอโรแบคทีเรียซีอี ที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะคาร์บาพีเนม ในเครือข่ายโรงพยาบาลภาคใต้ตอนล่าง 

      ศรัญญู ชูศรี; Sarunyou Chusri; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล; Khachornjakdi Silpapojakul; ธนภร หอทิวากุล; Thanaporn Hortiwakul; บุญศรี เจริญมาก; Boonsri Charoenmak; รัตนรุจิ พุ่มวิเศษ; Rattanaruji Pomwised (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      บทนำ การติดเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะเป็นปัญหาสำคัญในระดับชาติ โดยเฉพาะกับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล และที่สำคัญพบว่าผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อจะมีอัตราการเสียชีวิตสูง มีระยะเวลาในการครองเตียงเพื่อรักษาเป็นเวลานาน ...
    • การประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจากการสัมผัสสารกำจัดศัตรูพืชและการพัฒนาโปรแกรมเพื่อป้องกันการสัมผัสสารกำจัดศัตรูพืชในเด็กที่อาศัยในพื้นที่เกษตรกรรม 

      สาธินี ศิริวัฒน์; Satinee Siriwat; จักรกฤษณ์ พลราชม; Chakkrit Ponrachom; อภิรดี วังคะฮาต; Apiradee Wangkahart; ศรีวิภา ช่วงไชยยะ; Sriwipa Chuangchaiya; ฐิติรัช งานฉมัง; Thitirat Nganchamung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-07)
      จากการศึกษาการสัมผัสสารกำจัดศัตรูพืชในเด็กอายุ 1-3 ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เกษตรกรรมจังหวัดสกลนคร พบสารกำจัดศัตรูพืชที่ผิวหนังบริเวณมือและเท้าของเด็กที่อาศัยในพื้นที่เกษตรกรรม ร้อยละ 100 อันเนื่องมาจากเด็กในช่วงวัยนี้มีพ ...
    • การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมเพื่อสุขภาวะที่ดีของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีในสวนส้ม: กรณีศึกษา ตำบลแม่สิน อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย 

      พนิดา จงสุขสมสกุล; Panida Jongsuksomsakul; ศตพรรษ โตอินทร์; Satapat Toin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-11)
      การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมเพื่อสุขภาวะที่ดีของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีในสวนส้ม: กรณีศึกษา ตำบลแม่สิน อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เป็นการวิจัยปัจจัยทางสังคมที่กำหนดสุขภาพ เพื่อให้ได้แนวทางการควบคุม การส่งเสริม ...
    • การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ...
    • การสังเคราะห์มาตรการและนโยบายของรัฐบาลเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 จากผลการประเมินการปฏิบัติตนของประชาชนไทยต่อมาตรการต่างๆ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumon; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; วันวิสาห์ แก้วขันแข็ง; Wanwisa Kaewkhankhaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 ส่งผลให้รัฐบาลไทยประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม - 30 เมษายน พ.ศ. 2563 และรณรงค์มาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” ...
    • การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเรื่องการนำยาเก่าและการรักษามุ่งเป้าที่ยีนก่อโรคเพื่อการรักษาโรคกล้ามเนื้อร่วมประสาท 

      อรณี แสนมณีชัย; Oranee Sanmaneechai; ธัญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; วรุตม์ ดุละลัมพะ; Warut Tulalamba; มงคล ชาญวณิชตระกูล; Mongkol Chanvanichtrakool; ญาณิน สุขสังขาร; Yanin Suksangkharn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-11)
      ภาวะกล้ามเนื้อร่วมประสาท (neuromuscular diseases: NMD) เป็นภาวะที่เป็นเรื้อรังชนิดไม่ติดต่อ (non-communicable disorders) ส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มโรคหายาก การรักษาโรคกล้ามเนื้อร่วมประสาทหลักๆ ...
    • การวิเคราะห์การเข้าถึงยาบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชียา จ(2) 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การเข้าถึงยา (access to medicine) ถือเป็นกุญแจสำคัญที่บ่งบอกความสำเร็จของระบบสาธารณสุขในประเทศนั้นๆ จากรายงานของ World Health Organization (WHO) ในปี 2004 ชี้ให้เห็นตัวเลข 1 ใน 3 ของประชากรของโลกยังไม่สามารถเข้าถึงยาที่ม ...