แสดงรายการ 1321-1340 จาก 5776

    • เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยให้ได้ทุน และการวิเคราะห์ความเสี่ยงข้อเสนอโครงการวิจัย 

      ประวิช ตัญญสิทธิสุนทร ; Pravich Tanyasittisuntorn (มูลนิธิส่งเสริมวิจัยทางการแพทย์ เครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2561-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยให้ได้ทุน 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • กรอบการวิจัย สวรส. ปี 2562 ประเด็นวิจัย : Service delivery, Workforce, Governance 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นวิจัย การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ระบบบริการ และระบบอภิบาลสุขภาพ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • Call for proposals for Drug System Research 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นวิจัยระบบยาและเวชภัณฑ์ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • Medical Technology Medical Information 

      จุไรรัตน์ พรหมใจ; Jurairat Phromjai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นวิจัย ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ และระบบเทคโนโลยีทางการแพทย์ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • SDH & Vulnerable population : Research direction & framework HSRI 2562 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; Wachara Riewpaiboon; วรรณพร บุญเรือง; Wannaporn Boonreong; อัปสร จินดาพงษ์; Apsorn Jindapong; แพรว เอี่ยมน้อย; Praew Eiamnoi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นวิจัย กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • ระบบการวิจัยสุขภาพกับการพัฒนาประเทศ 

      พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จและแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานของคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสธจ.) 

      อุไรวรรณ อินทร์ม่วง; สมชาย ตู้แก้ว; พรรณวรท อุดมผล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      ตามที่คณะกรรมการสาธารณสุข ได้มีมติแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ครอบคลุม 76 จังหวัด เมื่อเดือนกันยายน 2557 จากการดำเนินงานตั้งแต่ปี 2557 – 2559 ของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ...
    • การพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียง (กรณีศึกษาผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียงในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.ฮ่องห้า อ.แม่ทะ จ.ลำปาง) 

      สุมิตรา วิชา; ณัชพันธ์ มานพ; สุภา ศรีรุ่งเรือง; เบญจพร เสาวภา; ศิริรัตน์ ศรีภัทรางกูร; ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์; ธณกฤษ หมื่นก้อนแก้ว; ธนัชพร มณีวรรณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      รายงานผลการวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบระบบเครือข่ายการบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียง โดยการมีส่วนร่วมของภาคีหลัก 3 ภาคี ในชุมชน ...
    • พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 

      โสภนา สุดสมบูรณ์; อัญชลี เหมชะญาติ; ประยงค์ แก่นลา; สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ (Pender) 2) ศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) ศึกษาสภาพการดูแลต ...
    • การพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 

      โสภนา สุดสมบูรณ์; อัญชลี เหมชะญาติ; ประยงค์ แก่นลา; สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 2) เพื่อสร้างและพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเชิงบูรณาการระ ...
    • สมองเสื่อม ป้องกันได้ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-10)
      “อัลไซเมอร์” โรคสมองเสื่อมที่พบบ่อยสุด โรคสมองเสื่อมมีหลายภาวะ บางกรณีอาจเกิดจากเนื้องอกในสมอง การติดเชื้อในสมอง น้ำในสมองมากเกินไป ฯลฯ ทำให้หลอดเลือดตีบตัน ซึ่งโรคอัลไซเมอร์คือ ภาวะสมองเสื่อมประเภทหนึ่งที่พบบ่อยสุด ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2560 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2560 ประกอบด้วย บทความพิเศษ 1 บทความ คือ การดำเนินงานชุดโครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทยตามแผนปฏิบัติการการดื้อยาต้านจุลชีพขององค์การอนามัยโลก ...
    • รายงานผลการทบทวนข้อมูลเพื่อความเข้าใจสถานการณ์วัณโรคในกลุ่มแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย 

      นวพรรณ เมธชนัน; Nawaphan Metchanun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      จากการสืบค้นข้อมูลทางวรรณกรรมอย่างเจาะจงในระยะสิบปีที่ผ่านมายังไม่พบงานวิจัยที่เน้นการศึกษาข้อมูลทางสถิติเกี่ยวกับผู้ติดเชื้อวัณโรคที่เป็นคนต่างด้าวในประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทยจากรายงานขององค ...
    • การเฝ้าระวังการบริโภคยาต้านจุลชีพของประเทศไทย: รากฐานเพื่อการควบคุมเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ 

      คณะวิจัยและพัฒนาระบบติดตามการบริโภคยาต้านจุลชีพของประเทศไทย; Development on Surveillance of Antimicrobial Consumption (SAC) in Human and Animal Project Researcher Team; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นภัยคุกคามที่สำคัญทางสาธารณสุขในปัจจุบันและนับวันจะยิ่งส่งผลทวีความรุนแรงมากขึ้น แม้ว่าการดื้อยาต้านจุลชีพจะเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ตามธรรมชาติ แต่การใช้ยาต้านจุ ...
    • จุดเริ่มต้นในการพัฒนาการควบคุมการใช้ยาต้านจุลชีพในพืช 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; พรรัชดา มาตราสงคราม; Pohnratchada Mattrasongkram; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; ไมตรี พรหมมินทร์; Maitree Prommintara; พรพิมล อธิปัญญาคม; Pornpimon Athipunyakom; แสนชัย คำหล้า; Saenchai Khamlar; ศิริพร ดอนเหนือ; Siriporn Donnua; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังการบริโภคยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • ความชุกของเชื้อแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในสุนัขที่อาศัยอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศ 

      สุขฤทัย บุญมาไสว; Sookruetai Boonmasawai; นรสุทธิ์ บางภูมิ; Norasuthi Bangphoomi; ศิวะพงษ์ สังข์ประดิษฐ์; Sivapong Sungpradit; นรัชพัณญ์ ปะทิ; Naratchaphan Pati; ธีระวิทย์ ตั้งก่อสกุล; Teerawit Tangkoskul; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      มนุษย์และสุนัขที่เป็นสัตว์เลี้ยงมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด การสัมผัสโดยตรงระหว่างมนุษย์และสุนัขนั้นอาจเป็นปัจจัยที่สำคัญในการถ่ายทอดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคระหว่างกันได้ กลุ่มสัตว์เลี้ยงจึงอาจเป็นปัจจัยที่เกี่ยว ...
    • อุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกาในผู้ป่วยที่สงสัยไข้เดงกี่ (ผลการรายงานเบื้องต้น) 

      จุไร วงศ์สวัสดิ์; Jurai Wongsawat; ปฐมา สุทธา; Patama Suttha; สุมนมาลย์ อุทยมกุล; Sumonmal Utayamakul; สุมาลี ชะนะมา; Sumalee Chanama; กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ; Kulkanya Chokephaibulkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      บทนำ การติดเชื้อไวรัสซิกาที่เกี่ยวข้องกับโอกาสการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิด เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ทั่วโลกให้ความสำคัญในช่วงทศวรรษนี้ เชื้อซิกาเป็นเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัสเช่นเดียวกับเชื้อไวรัสเดงกี่ และมีอาการทางค ...
    • การผนวกกลไกการติดตามและประเมินความรู้และความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพเข้าสู่การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; พรรัชดา มาตราสงคราม; Pohnratchada Mattrasongkram; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อภิชาติ ธัญญาหาร; Apichart Thunyahan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การดื้อยาต้านจุลชีพ (antimicrobial resistance: AMR) เป็นปัญหาระดับโลกที่คุกคามต่อความมั่นคงด้านสาธารณสุขและด้านเศรษฐกิจ มีการคาดการณ์ว่า หากไม่มีการแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง ในอีก 33 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2593) จะมีผู้เสียชีว ...
    • แบบแผนความไวต่อยาต้านจุลชีพในหลอดทดลองของเชื้อเบอโคลเดอเรีย สูโดมาลิอาย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      ภาวนา พนมเขต; Pawana Panomket; มารุตพงศ์ ปัญญา; Marutpong Panya; จิราพร นิลสกุล; Jiraporn Nilsakul; พิฐชญาณ์ พงศ์ธารินสิริ; Pitchaya Pongtarinsiri; ไกรสร บุญสาม; Krisorn Boonsam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      เบอโคลเดอเรีย สูโดมาลีอายคือเชื้อสาเหตุของโรคเมลิออยโดสีส เซฟตาซิดิมเป็นยาที่ถูกเลือกใช้สำหรับรักษาโรคติดเชื้อนี้ แต่อัตราการตายก็พบสูงในพื้นที่ระบาดของโรค การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสืบสวนหาประสิทธิผลของยาปฏิชีวนะในห ...