แสดงรายการ 3141-3160 จาก 5782

    • International Guideline on Research Ethics 

      สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2550-08)
    • การสำรวจด้านโภชนาการ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พศ 2551-2552 

      วิชัย เอกพลากร; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; ศักดา พรึงลำภู (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2553)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551- 2552 นี้เก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทยอายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ที่อาศัยใน 20 จังหวัดทั่วประเทศและกทม. จำนวน 29,485 คน คิดเป็นอัตราตอบกลับร้อยละ 93 โดยเป็น ตัวอย่างเด็กอายุ 1-14 ...
    • สร้างกาย-ใจให้แข็งแรง : คู่มือดูแลตนเองของผู้สูงวัยพร้อมข้อมูลสิทธิประโยชน์และสวัสดิการที่ควรรู้ 

      บรรลุ ศิริพานิช (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2553-06)
      ในช่วง 20 ปีก่อนปัญหาเรื่องผู้สูงวัยยังไม่เด่นชัด บ้านเรามีผู้สูงอายุก็จริงแต่ยังไม่มาก เราจึงไม่เห็นความสำคัญของการเตรียมพร้อมเข้าสู่วัยนี้เท่าไรนัก กระทั่งปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (ประชากรอายุเดินกว่า 60 ...
    • การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 

      วิชัย เอกพลากร; เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล; หทัยชนก พรรคเจริญ; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; กนิษฐา ไทยกล้า (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2553)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 นี้ ดำเนินการโดยสำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ...
    • ก้าวย่างและทางเดิน : สรุปผลการทำงานในระยะที่2 ของแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; โอปอล์ ประภาวดี (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย, 2553)
    • ปัญหาสารตะกั่วปนเปื้อนน้ำดื่มในโรงเรียน 

      วรวิทย์ กิตติวงศ์สุนทร (ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 อุบลราชธานี, 2553-08-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2553 Thailand Research Expo 2010 ในห้องย่อยการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในระบบสุขภาพ วันที่ 26 สิงหาคม 2553 เวลา 13.30-16.30 น. ณ เซ็นทรัลเวิลด์
    • การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในระบบสุขภาพ 

      ปริญญา สันติชาติงาม (โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 2553-08-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2553 Thailand Research Expo 2010 ในห้องย่อยการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในระบบสุขภาพ วันที่ 26 สิงหาคม 2553 เวลา 13.30-16.30 น. ณ เซ็นทรัลเวิลด์
    • การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในระบบสุขภาพ 

      สมบูรณ์ เทียนทอง (มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553-08-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2553 Thailand Research Expo 2010 ในห้องย่อยการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในระบบสุขภาพ วันที่ 26 สิงหาคม 2553 เวลา 13.30-16.30 น. ณ เซ็นทรัลเวิลด์
    • Research Utilization in Health System 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-08-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2553 Thailand Research Expo 2010 ในห้องย่อยการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในระบบสุขภาพ วันที่ 26 สิงหาคม 2553 เวลา 13.30-16.30 น. ณ เซ็นทรัลเวิลด์
    • ด้วยรักและกตัญญู สู่ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่ยั่งยืน 

      กมล สุกิน; ศศิพัฒน์ ยอดเพชร (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2553-07)
      หากเปรียบผู้สูงอายุเหมือนดอกลำดวนสังคมไทยตอนนี้ก็คงคล้าย “ดงลำดวน” เพราะถึงวันนี้คงไม่มีใครกังขาอีกว่าสังคมไทยกำลังก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” มากขึ้นเรื่อยๆ อีกไม่นานจากนี้ เราจะมีคนวัย 60 ขึ้นไปมากถึง 1 ใน 4 ของประชากรบ้านเรา ...
    • การวิจัยภาพอนาคตของระบบการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย 

      นเรศ ดํารงชัย; เพียงเพ็ญ บุตรกตัญญู; สุรชัย สถิตคุณารัตน์; พสชนัน นิรมิตรไชยนนท์; พิสิษฐ์พล กลิ่นบัวแก้ว; กิตติพงษ์ เกิดน้อย (สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ, 2553)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาภาพอนาคตของระบบการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย และพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาประเด็นด้านกฎหมายและระบบการชันสูตรพลิกศพที่เหมาะสมกับประเทศไทย โดยคณะผู้วิจัยได้การผนวกวิธีการมองอน ...
    • สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R 

      วิจารณ์ พานิช; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; วิรุฬ ลิ้มสวาท; สมพนธ์ ทัศนิยม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-07)
      ทีมงานจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “จากงานประจำสู่งานวิจัย” ครั้งที่ 3 เชื่อว่าในผลงาน R2R มีความริเริ่มสร้างสรรค์แฝงฝังอยู่ จึงได้แบ่งงานกันทำ จัดการวิเคราะห์ผลงาน R2R ที่ส่งเข้าประกวดแต่ละกลุ่มเพื่อค้นหาคุณค่าในผลงาน ...
    • การพัฒนาโครงการการจัดการความรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 

      มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ; National Health Foundation (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2553-07)
      โครงการการพัฒนาโครงการการจัดการความรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เป็นโครงการที่เกิดจากความร่วมมือระหว่าง ๓ ภาคีหลัก ซึ่งได้แก่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ...
    • ต้นไม้การตัดสินใจ 

      ครรชิต มาลัยวงศ์; Kanchit Malaivongs (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ต้นไม้การตัดสินใจ (decision tree) เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้วิเคราะห์เหตุการณ์ หรือสถานการณ์เพื่อการตัดสินใจได้อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว ต้นไม้การตัดสินใจมีลักษณะเป็นกราฟรูปต้นไม้ ซึ่งแสดงที่ตั้งต้นที่มีรากและแขนงต่างๆแตก ...
    • การอ่านสภาพจิตของผู้ต้องขังจากภาพวาด 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; นพวรรณ บัวทอง; ศิเรมอร บุญงาม; Lertsiri Bovornkitti; Nopphawan Buathong; Siremaon Bunngam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพจิตของผู้ต้องขังในเรือนจำจากภาพวาดอิสระ กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ศึกษาได้แก่ ผู้ต้องโทษคุมขัง 30 ราย เป็นชาย 20 ราย และหญิง 10 ราย อายุ 24-57 ปี ซึ่งมีภูมิลำเนากระจายอยู่ทั่วประเทศ ...
    • การกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศเม็กซิโก สวีเดน และนิวซีแลนด์ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      หลายประเทศได้เลือกใช้กฎบัตรอ๊อตตาวาเป็นแม่แบบในการพัฒนานโยบายการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับทุกประเทศที่ศึกษานี้ได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ประเทศเม็กซิโกกำหนดองค์ประกอบในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับการประเมินการสร้า ...
    • ความเห็นในเรื่อง บทบาท หน้าที่ และกิจกรรมต่อบริการปฐมภูมิของร้านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; ธารินี อัครวิเชียร; ชาญชัย จารุภาชน์; ขนิษฐา เจิมขุนทด; พักตร์วิภา เจริญธรรม; Wiwat Arkaravichien; Tarinee Arkaravichien; Chanchai Jarupach; Khanitha Jermkuntood; Parkwipa Charoenthum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      แม้ว่าร้านยาจะเป็นที่ให้บริการสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชน แต่ร้านยาก็ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหน่วยบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพใดๆ ภายหลังที่ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีความพยายามที่จะทดลองร้านยาคุณภาพเป็น ...
    • การกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การกระจายอำนาจเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการพัฒนาระบบสุขภาพที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เช่น เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้รวดเร็วและตรงจุดมากขึ้น ตรวจสอบง่ายขึ้น, Rondinelli ...
    • การวินิจฉัยภาวะไม่พึงประสงค์จากบริการทางการแพทย์เพื่อการจ่ายชดเชย 

      ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์; บุศราพร เกษสมบูรณ์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; อมร เปรมกมล; Pattapong Kessomboon; Nusaraporn Kessomboon; Supasit Pannarunothai; Amorn Premgamone (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      จากสภาพปัญหาภาวะไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและการฟ้องร้องที่เพิ่มมากขึ้น จึงมีการร่างพระราชบัญญัติกองทุนชดเชยความเสียหายจากบริการสุขภาพที่ออกแบบให้ครอบคลุมคนไทยทุกกลุ่ม แต่กองทุนใหม่นี้ควรมีกระบวนการวินิจฉัยซึ่งเ ...