DSpace at Health Systems Research Institute (HSRI): ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 4681-4700 จาก 5899
-
ระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในภาคใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, [2546])การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการใช้บริการทันตกรรม โดยใช้บัตรทอง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของประชาชน ความเข้าใจ ทัศนคติของประชาชนต่อโครงการ 30 บาท ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไปใช้บริการทางทันตกรรม ... -
พฤติกรรมและการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้ใช้แรงงานก่อสร้างเคลื่อนที่ในเขตก่อสร้าง จ.สมุทรปราการภายใต้นโยบายการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) ระยะที่ 1
(คณะสาธารณสุขศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547)การศึกษาเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางของกลุ่มแรงงานก่อสร้างเคลื่อนที่แบบชั่วคราวที่มีบัตรทอง (30 บาท รักษาทุกโรค) จำนวน 457 คน โดยการสุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนของจำนวนผู้ใช้แรงงานที่กระจายอยู่ตามสถานที่ก่อสร้าง ในแต่ละอำเภอของจังหว ... -
การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ... -
รายงานภาพรวมกระบวนการวิจัยและพัฒนา : โครงการวิจัยและพัฒนาศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ระหว่างพฤษภาคม 2536 - กันยายน 2539
(กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 2539) -
การสังเคราะห์ความรู้เพื่อสนับสนุนการยกร่างธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ : (ประเด็นที่ 9 : การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ ประเด็นที่ 10 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)ตามที่สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) และ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพและภาคประชาชน ได้ร่วมกันผลักดันการปฏิรูประบบสุขภาพมาตั้งแต่ พ.ศ.2542 ความพยายามดังกล่าวสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรมประการหนึ่ง ... -
ผลของระบบการประเมินการใช้ยา ต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)ผลของระบบประเมินการใช้ยาต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น หลักการและเหตุผล มูลค่าการใช้ยาเซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 อันประกอบด้วย ceftriaxone, cefotaxime และ ceftazidime ของโรงพยาบาลขอนแก่นมีปริมาณการใช้ที่สูง ... -
การดำเนินการและการปรับตัวของโครงการประกันสังคม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงการดำเนินงานของสำนักงานประกันสังคมซึ่งเป็นผู้บริหารกองทุนประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทนผู้ประสบภัยจากการทำงานในส่วนของการให้ความคุ้มครองด้านสุขภาพแก่ผู้ประกันตนและลูกจ้าง ... -
วิจัยและพัฒนาแผนแม่บทและเครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่วนที่ 2 ชุดเครื่องชี้วัดสำหรับการกำกับติดตามประเมินคุณภาพบริการสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)เครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าชุดนี้ ครอบคลุมการดําเนินงานใน 6 มิติ ตามมุมมองของคุณภาพที่เสนอไว้ในร่างยุทธศาสตร์และแผนแม่บทในการติดตามกํากับและประเมินคุณภาพบริการสาธารณสุขภายใต้ระ ... -
ทบทวนตัวชี้วัดระบบยาของประเทศ ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ
(สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2550)ศึกษาทบทวนตัวชี้วัดระบบยาของประเทศไทย ต่างประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ ได้แก่ องค์การอนามัยโลก สหภาพยุโรป แคนาดา สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย -
การทบทวนความรู้เพื่อการพัฒนา ระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพคนพิการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542) -
รูปแบบการจัดบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ : กรณีศึกษาในเขตภาคเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)การศึกษาเพื่อหารูปแบบการจัดระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ กรณีศึกษาภาคเหนือนี้ ได้ใช้แบบวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยเน้นการมีส่วนร่วม (participatory action research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ... -
ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ภายใต้สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ.2540
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ภายใต้สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ.2540การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วยภายใต้สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการซึ่งคุ้มครองข้าราชการ, ลูกจ้างประจำ ... -
บทบาทของการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพในกระบวนการนโยบายสาธารณะ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การพัฒนานโยบายและการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติในภาครัฐเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาในขณะที่ตัวแสดงจำนวนมากซึ่งมีผลประโยชน์ที่แตกต่างกันเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง ตัวแสดงเหล่านี้ทั้งที่เป็นปัจเจกบุคคลและองค์ก ... -
รหัสโรคและรหัสผ่าตัด หัตถการในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษาสถานการณ์การให้รหัสโรคและรหัสผ่าตัด/หัตถการที่เป็นจริงในปัจจุบัน มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงปัญหาและสาเหตุของปัญหาอันเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการให้รหัสโรคและรหัสผ่าตัด/หัตถการต่อไป การศึกษาประกอบด้วยการสำรวจสถานกา ... -
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของประชาชนภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้บริการของประชาชนภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยศึกษาจากประชาชนในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างได ... -
สิทธิมนุษยชนกับสุขภาพ : บทสำรวจเบื้องต้นเพื่อทบทวนและท้าทายองค์ความรู้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)งานวิจัยชิ้นนี้ มุ่งศึกษาทบทวนแนวความคิดว่าด้วย “สิทธิมนุษยชน” และ “สุขภาพ” เพื่อนำมาเปรียบเทียบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ผสมผสาน และเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างสองแนวคิดข้างต้น โดยใช้กรอบคิดเรื่อง “การนิยามความหมายทางสังคม” ... -
คู่มือการดำเนินงานโรงพยาบาลในกำกับของรัฐ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)คู่มือการดำเนินงานโรงพยาบาลในกำกับของรัฐ การพัฒนาด้านการสื่อสาร ลดความซับซ้อนของการบริหารจัดการ ส่งเสริมประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการบริหารจัดการโรงพยาบาล การเป็นที่พึ่งของประชาชน พัฒนาการจัดสรรทรัพยากร และการพัฒนาองค์ความรู้ ... -
การสำรวจการเจ็บป่วยและการใช้บริการทางการแพทย์ของข้าราชการ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัว ในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ. 2538
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)การสำรวจการเจ็บป่วยและการใช้บริการทางการแพทย์ของข้าราชการ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัวในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ พ.ศ. 2538 การสำรวจภาวะการเจ็บป่วยของข้าราชการ, ลูกจ้างประจำ, ข้าราชการบำนาญ และบุคคลในครอบครัวใ ... -
การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อแผลผ่าตัดในโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)การเฝ้าระวังการติดเชื้อที่ตําแหน่งผ่าตัดของประเทศไทยในปัจจุบัน มีความแตกต่างกันอย่างมาก ทําให้ข้อมูลไม่สามารถนํามาเปรียบเทียบกันได้ การพัฒนาระบบเครือข่ายการเฝ้าระวังการติดเชื้อตําแหน่งผ่าตัดเป็นวิธีการสําคัญในการพัฒนามาต ... -
ประเมินผลกระทบชุดโครงการที่มีลำดับความสำคัญสูงที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)เอกสารชุดนี้เป็นการประเมินชุดโครงการที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้แก่ ชุดโครงการปฏิรูประบบสุขภาพ ชุดโครงการส่งเสริมการวิจัยระดับพื้นที่ ชุดโครงการส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการสร้า ...