แสดงรายการ 5241-5260 จาก 5798

    • สมุฎฐานความก้าวร้าวของมนุษย์ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      บทความนี้แปลและเรียบเรียงจากบทที่ 16 "The Etiology of Human Aggression" ในหนังสือ Art as Therapy: Collected Papers ของ Edith Kramer หน้า 218-222 พิมพ์โดย Athenacum Press, Gateshead, Tyne and Wear, Great Brtain ใน พ.ศ. 2543 ...
    • จริยธรรมกับการวิจัยในมนุษย์ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ในอดีตเคยมีการใช้มนุษย์เป็นหนูทดลองยา และวัคซีนหลายชนิด โดยไม่มีหลักประกันและความคุ้มครองสิทธิที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่นำมาศึกษา วิจัย และทดลองทางการแพทย์และสาธารณสุข. ผู้คนในสังคมทั่วไปหรือแม้แต่ผู้ป่วยจึงกลายเป็นหนูทดลอ ...
    • กระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ : ความเข้าใจเบื้องต้น 

      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • แนวคิดการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • ระบบสุขภาพ : ความมุ่งหมายใหม่ของสังคมไทย 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ : กับการสร้างนโยบายเพื่อสุขภาพ 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • นโยบายสาธารณะ : ความเกี่ยวพันกับระบบสุขภาพ 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • ความเข้าใจในนโยบายสาธารณะ 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • วาระทางสังคม: กรณี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      คณะทำงานวาระทางสังคม; จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสังคม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • ระบบบริการสุขภาพในภาวะวิกฤต 

      สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; เมตตา กูนิง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • มิติเศรษฐกิจ สังคม ภายใต้พหุวัฒนธรรม: มุมมองผ่านงานวิจัย 

      ปิยะ กิจถาวร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพชุมชน 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • ก้าวต่อไป การวิจัยระบบสุขภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา ระบบสุขภาพไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด พรบ.กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ได้ผลักดันให้มีการพัฒนารูปแบบการถ่ายโอนสถานพยาบาลภาครัฐไปอยู่ภายใต้การดูแลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ...
    • นโยบายสุขภาพเพื่อคุณภาพชีวิตของคนไทย 

      เครือข่ายนักวิชาการด้านสุขภาพ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
    • การจัดการงานวิจัย: แก้วิกฤตใต้ 

      พงค์เทพ สุธีรวุฒิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-11)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • การเคลื่อนไหวร่างกายของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-07)
      การเคลื่อนไหวร่างกาย หรือกิจกรรมทางกาย (Physical Activities) หมายถึงการเคลื่อนไหวร่างกาย ซึ่งถ้าได้กระทำสม่ำเสมอจะเป็นพฤติกรรมที่สร้างเสริมสุขภาพ และมีผลต่อการป้องกันโรคที่สำคัญต่อไปนี้คือ โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เส้นเลือดในสมองตีบ ...
    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ. 2549 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-12)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...
    • อัตราตายระดับจังหวัด พ.ศ. 2548 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; ณรงค์ กษิติประดิษฐ์; อรพิน ทรัพย์ล้น (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-11)
      อัตราตาย ระดับจังหวัด มีความสำคัญในการใช้เปรียบเทียบ ความแตกต่างของการตายโดยเฉพาะรายสาเหตุ ระหว่างจังหวัด ซึ่งจะช่วยในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาสุขภาพของจังหวัด และช่วยในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพ รวมทั้งจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ ...
    • ความดันโลหิตสูงในคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-09)
      ความดันโลหิตสูง เป็นหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โดยพบว่าความดันซิสโตลิกที่เพิ่มขึ้นทุก ๆ 10 มิลลิเมตรปรอท จะทำให้ความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้นร้อยละ 40 และโรคหลอดเลือดหัวใจเพิ่มขึ้นร้อยละ ...
    • การบริโภคผักผลไม้ของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-08)
      อาหารที่บริโภค มีความสำคัญต่อสภาวะสุขภาพ การศึกษาในอดีตพบว่าผักและผลไม้มีผลในด้านเป็นปัจจัยคุ้มครอง (protective factor) ต่อโรคหัวใจขาดเลือด (Ischemic heart disease) โรคหลอดเลือดในสมอง (stroke) มะเร็งปอดและมะเร็งของทางเดินอาหาร ...