แสดงรายการ 5721-5740 จาก 5802

    • ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลปากคาด จังหวัดหนองคาย พ.ศ. 2550 

      ไพโรจน์ รัตนะเจริญธรรม; Piroj Rattanacharoenthum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลปากคาด จังหวัดหนองคาย ซึ่งปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ...
    • การสลายนิ่วโดยเครื่องสลายนิ่วในโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย 

      เทอดทูล นิ่มพงษ์ศักดิ์; Therdtoon Nimpongsak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาความสำเร็จของการสลายนิ่วในไตและท่อไต ที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ โดยการใช้เครื่องสลายนิ่วระบบ E2000 ESWL ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2549 - มีนาคม 2550 ในผู้ป่วย 370 ราย นิ่วขนาด 5-37 มม. เมื่อติดตามผลการรักษา 1 เดือน ...
    • เครือข่ายสถาบันวิจัยทางคลินิกที่เชื่อมโยงกับงานวิจัยพื้นฐาน 

      ปรีดา มาลาสิทธิ์; Prida Malasit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ชีวภาพ เป็นฐานหนึ่งที่สำคัญของระบบการแพทย์และสาธารณสุข ข้อมูลและเทคโนโลยีที่ได้จากงานวิจัยพื้นฐานที่มีคุณภาพ จะเป็นเครื่องมือให้กับประเทศในการเผชิญกับปัญหาโรคอุบัติใหม่อย่างมีประสิทธิ ...
    • โรคเบาหวาน ภาวะก่อนเบาหวาน และการควบคุมจัดการผู้ป่วยเบาหวานคนไทย พ.ศ. 2547 

      วีระยุทธ ชัยพรสุไพศาล; Weerayuth Chaipornsupaisan; วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; อมร เปรมกมล; Amorn Premgamone; บดี ธนะมั่น; Bodi Thanamun; เฉลิมชัย ชัยกิตติพร; Chalermchai Chaikittiporn; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasak Chongsuvivatwong; ธนารักษ์ สุวรรณประพิศ; Thanarak Suwanprapisa; ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล; Siriwat Tiptaradol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เพื่อสำรวจความชุกของโรคเบาหวาน, ภาวะก่อนเบาหวาน, โรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง โรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน เช่น โรคความดันโลหิตสูง, ภาวะเลือดมีไขมันมากเกิน, รวมถึงปัญหาการวินิจฉัยโรค และการควบคุมดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ...
    • การอภิบาลบทบาทการซื้อบริการในระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย 

      บัลลังก์ อุปพงษ์; Ballang Uppapong; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เพื่อประเมินการอภิบาลและการจัดการสำหรับซื้อบริการสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง การรับฟังบรรยายสรุปจากเจ้า ...
    • คะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานสำหรับคนไทย 

      วิชัย เอกพลากร; Vichai Aekplakorn; พงษ์อมร บุนนาค; Pongamorn Bunnag; ปิยะมิตร ศรีธรา; Piyamitr Sritara; สายัณห์ ชีพอุดมวิทย์; Sayan Cheepudomvit; สุกิจ แย้มวงศ์; Sukit Yamwong; รัชตะ รัชตะนาวิน; Rajata Rajatanavin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การทำนายความเสี่ยงโรคเบาหวานในบุคคลทั่วไปเป็นวิธีหนึ่งที่อาจนำไปร่วมใช้ในมาตรการควบคุมโรคเบาหวานในชุมชน การใช้คะแนนความเสี่ยงโรคเบาหวานประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวานเป็นวิธีง่าย สะดวกกว่าการเจาะเลือดตรวจตัวแปรเสริมต่างๆ ...
    • จุลชีววิทยาของมัยโคแบคทีเรีย 

      ศุภร ฟุ้งลัดดา; Suporn Phuengladda; ประเสริฐ ทองเจริญ; Prasert Thongcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
    • ศิลปกรรมบำบัดเด็กเหยื่อน้ำหลาก ดินถล่มที่อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ 

      เลิศศิริร์ บวรกิตติ; Lertsiri Bovornkitti; ประภา โสฬสจินดาขนันทวรศิลป์; Prapa Sorosjinda-Nunthawarasilp; สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ศิลปกรรมบำบัดเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่ถูกนำมาใช้เป็นวิธีบำบัดภาวะผิดปรกติทางจิตใจในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประเภทที่เกิดจากได้รับการทำร้ายจิตใจ คณะผู้วิจัยนี้ได้นำวิธีการไปประยุกต์ใช้ในเด็กผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบทางจิตใจจากภัยธรรมชาติ ...
    • ต้นทุนดำเนินการของสถานีอนามัย ในจังหวัดสมุทรสาคร ปีงบประมาณ 2542 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; ธีรธัช กันตามระ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      จังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดขนาดเล็กในภาคกลางมี 3 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอบ้านแพ้ว และอำเภอกระทุ่มแบน โรงพยาบาลชุมชนบ้านแพ้วจะเป็นโรงพยาบาลในสังกัดของรัฐแห่งแรกทีออกตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ.2542 ซึ่งจะเปลี่ยนวิธ ...
    • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ใครได้-ใครเสีย : กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ในประเทศไทยการบาดเจ็บจากอุบัติภัยเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับสอง รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด อัตราตายจากอุบัติภัยต่างๆ ดารบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกมีสัดส่วนที่สูง ภาพที่2 แสดงจำนวนอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ ...
    • สถานพยาบาลต้องปรับตัวอย่างไรภายใต้นโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า-กรณีศึกษาจังหวัดจันทบุรี 

      ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงินด้านรายจ่ายและรายรับภายใต้ฉากทัศน์ต่างๆ ของการดำเนินการตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้า และต้นทุนดำเนินการต่อหน่วยของสถานพยาบาลในจังหวัดจันทบุรีปีงบประมาณ 2543 ...
    • ภาระงานของบุคลากรและประสิทธิภาพการใช้เตียงโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัด ปี 2543 

      วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานรักษาของบุคลาการ 3 สายงานได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ งบประมาณ 2543 ของโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัดทุกแห่งในประเทศไทยทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคม – มิถุนายน ...
    • งบประมาณในการดำเนินนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: 1,202 บาทต่อคนต่อปีมาจากไหน 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ภูษิต ประคองสาย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      นโยบายรัฐบาลในการดำเนินการโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2544 นั้น กระทรวงสาธารณสุขและนักวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ตัดสินใจใช้รูปแบบการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ในระบบปลายปิด ได้แก่ รายจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการผู้ป่วยนอก ...
    • การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงการวางนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า หรือที่เรียกกันจนติดปากว่านโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น ซึ่งภายหลังการ ...
    • เครื่องมือแพทย์ราคาแพงในประเทศไทย: การกระจายการใช้และการเข้าถึงบริการ 

      วงเดือน จินดาวัฒนะ; ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ศึกษาการกระจาย การใช้ และการเข้าถึงบริการเครื่องมือแพทย์ราคาแพงในประเทศไทย ในระหว่างปี 2537-2542 ได้แก่ เครื่องสลายนิ่ว (ESWL) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scanner) เครื่องตรวจอวัยวะภายในด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหรือเครื่อ ...
    • เราได้อะไรจากคดีหมอฮาโรลด์ ชิปแมน 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ท่านผู้อ่านลองนึกถึงประชาชนที่รู้จักกับแพทย์คนหนึ่งและได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์ท่านนี้มาเป็นเวลานานนับสิบปี อาจจะมีญาติหรือผู้ที่รู้จักอันเป็นที่รักใคร่ได้เสียชีวิตไปในระหว่างการดูแลรักษาบ้างแล้วจู่ๆก็มาทราบในภายหลังว่า ...
    • ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การเจ็บป่วยราคาแพง: ทางออกคืออะไร 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ผู้วิจัยเห็นว่าหลักฐานจากการศึกษาที่มีอยู่ เราสามารถระบุได้ว่าระบบการรักษาทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายเป็นบริการที่มีราคาแพง และมีความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสูง โดยผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มผู้มีฐานะยากจ ...
    • ผลกระทบบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ต่อโรงพยาบาลภาครัฐ 

      อารยา ศรีไพโรจน์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2539 จัดทำขึ้นโดยใช้หลักการและแนวทางในการคัดเลือกยาขององค์การอนามัยโลกที่กำหนดให้มีจำนวนยาที่จำเป็นที่น้อยที่สุด (Minimal List) ต่อมามติของคณะรัฐมนตรีในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 ได้กำหนดให้ผู้ป่ว ...
    • ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ในประเทศไทย 76.7% ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-stage Renal Disease, ESRD) ไม่สามารถเข้าถึงบริการทดแทนไต เพราะเป็นบริการที่มีราคาแพงจนอาจทำให้ผู้ป่วยล้มละลาย (Catastrophic illiness) สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยรายงา ...
    • Implications of Private Practice in Public Hospitals on the Cesarean Rate in Thailand 

      Piya Hanvoravongchai; Jongkol Lertiendumrong; Yot Teerawattananon; Viroj Tangcharoensathien (Health Systems Research Institute., 2000)
      Cesarean section rate in developed countries increased significantly during 1971-1990. In Thailand the rate increased steadily from 15.2% in 1990 to 22.4% in 1996. Cesarean section rate increases with the decline of vaginal ...