แสดงรายการ 841-860 จาก 5776

    • คู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562 

      คณะทำงานพัฒนาคู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562; Guideline Development Working Group (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      คู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562 เล่มนี้ เป็นการศึกษาผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีหรือนโยบายทั้งในปัจจุบันและอนาคต โดยมีการพัฒนาคู่มือการประเมิน ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; ศยามล สุขขา; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; นุสรา สัตย์เพริศพราย; สาครินทร์ บุญบรรเจิดสุข; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-25)
      การใช้ยาสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ ซึ่งจะส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ตลอดจนรวมถึงค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • การพัฒนาคู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับที่ 3 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สลักจิต ชื่นชม; Salakjit Chuenchom; ณัฐธิดา มาลาทอง; Natthida Malathong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ หรือ Health Technology Assessment (HTA) เป็นการศึกษาผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีหรือนโยบายทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งรวมถึงผลกระทบด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ ...
    • ระบบเฝ้าระวังอัตโนมัติในการประเมิน ติดตาม ป้องกัน และแสดงแนวทางการบริหารจัดการเมื่อเกิดภาวะการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยาหรือสารน้ำในระหว่างการให้ยาหรือสารน้ำชนิดยานอร์ริพิเอฟฟรินจากภาพถ่ายผิวหนังโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียมเชิงลึกในรูปแบบแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน 

      จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต; Charturong Tantibundhit; ฐิติพร ปฐมจารุวัฒน์; Thitiporn Pathomjaruwat; บวรลักษณ์ ทองทวี; Borwarnluck Thongthawee; พัดชา พงษ์เจริญ; Padcha Pongcharoen; ดุษฎี สกลยา; Dudsadi Sakonlaya; ปรารถนา สิทธิวัฒนาวงศ์; Pradtana Sitthiwatthanawong; สินี เวศย์ชวลิต; Sinee Wetchawalit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อจากการรั่วของยา คือ ภาวะที่ยาที่มีฤทธิ์ในการทำลายเนื้อเยื่อรั่วซึมออกนอกหลอดเลือดในระหว่างการให้ยาทางหลอดเลือดดำ ส่งผลอันตรายต่อเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบที่ให้ยาทางหลอดเลือดดำ และอาจลุกลามถึงเส้นประสาท ...
    • การวิจัยเพื่อติดตามผลกระทบจากสารอาร์เซนิก แมงกานีส ไซยาไนด์ และฟื้นฟูภาวะบกพร่องทางสติปัญญา กระบวนการรู้คิด และการเรียนรู้ในเด็กประถมศึกษาปีที่ 4-6 

      นุชนาฎ รักษี; Nootchanart Ruksee; อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; ธีรตา ขำนอง; Thirata Khamnong; ศรัล ขุนวิทยา; Sarun Kunwittaya; อธิวัฒน์ เจี่ยวิวรรธน์กุล; Athiwat Jiawiwatkul; วสุนันท์ ชุ่มเชื้อ; Vasunun Chumchua; พิไลวรรณวดี หุตะเมขลิน; Pilaiwanwadee Hutamekalin; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; นนทสรวง กลีบผึ้ง; Nonthasruang Kleebpung; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล; Orapin Lertawasdatrakul; กรณัฐ โรจน์ไพรินทร์; Karanat Rodpairin; กนกพร ดอนเจดีย์; Khanokporn Donjdee; นันทนัช สงศิริ; Nanthanat Songsiri; สาลินี จันทร์เจริญ; Salinee Janjaroen; วินันดา ดีสวัสดิ์; Winanda Deesawas; ศิวลี โกศลศศิธร; Siwalee Kosonsasitorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      ยุทธศาสตร์การศึกษาของชาติเน้นการพัฒนาศักยภาพเด็กไทยทุกคนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 หมายรวมถึงเด็กในพื้นที่เสี่ยงจากอุตสาหกรรมโลหะหนัก จากการศึกษาในปี พ.ศ. 2559 พบมีอุบัติการณ์การรับสัมผัสสารหนูอนินทรีย์ในปัสสาวะในเด็ก ร้อยละ ...
    • ประสิทธิภาพของควอลัมเซนซิงโมเลกุลจากเชื้อราเพื่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อราก่อโรคติดเชื้อรากลุ่ม Scedosporium spp. ที่พบบ่อยในประเทศไทย (ปีที่ 1) 

      ภัสเนศวร์ สุขโพธิ์เพชร; Passanesh Sukphopetch; สุเมธ อำภาวงษ์; Sumate Ampawong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-17)
      เชื้อ Scedosporium spp. จัดเป็นกลุ่มเชื้อราก่อโรคในคนกลุ่ม Non-aspergillus spp. ที่เริ่มมีรายงานการติดเชื้อและก่อให้เกิดการเสียชีวิตเพิ่มมากขึ้นทั้งในกลุ่มผู้ป่วยที่มีระบบภูมิคุ้มกันปกติและภูมิคุ้มกันบกพร่อง ยิ่งไปกว่านั ...
    • ทางเลือกของการบริหารจัดการคลินิกชุมชนอบอุ่นในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในเขตกรุงเทพมหานคร 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-30)
      เหตุการณ์การยกเลิกสัญญาคลินิกชุมชนอบอุ่นในพื้นที่กรุงเทพมหานครโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ในช่วงปลายปีงบประมาณ 2563 อันเป็นผลมาจากการตรวจพบความผิดปกติของการเบิกจ่ายในระบบของ สปสช. ทำให้เกิดคำถามสำคัญว่าจะ ...
    • การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือส่งเสริมการเดินทางรับบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในชุมชนเมือง รอบโรงพยาบาลสิรินธร กรุงเทพมหานคร 

      พัสตราภรณ์ ทิพยโสธร; Pastraporn Thipayasothorn; อมรช้ย ชัยชนะ; Amornchai Chaichana; ทิพวัลย์ เรืองฤทธิ์; Thipawan Ruangrit; เอื้อมอัมพร เพชรสินจร; Aueamaumporn Phetsinchorn; ประทุม มั่นคง; Prathum Monkhong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือส่งเสริมการเดินทางรับบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยในชุมชนเมือง รอบโรงพยาบาลสิรินธร จากสถานการณ์สุขภาพสังคมสูงวัยและปัญหาการเดินทางในกลุ่มคนสูงวัยในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร มีความสัมพั ...
    • ผลกระทบของสื่อดิจิทัลที่มีผลต่อพัฒนาการมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 

      นนทสรวง กลีบผึ้ง; อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์; Adisak Plitponkarnpim; ธีรตา ขำนอง; Thirata Khamnong; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล; Orapin Lertawasadatrakul; นุชนาฏ รักษี; Nootchanart Ruksee; กันนิกา เพิ่มพูนพัฒนา; Kannika Permpoonputtana; วสุนันท์ ชุ่มเชื้อ; Vasunun Chumchua; Nonthasruang Kleebpung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      ปัจจุบันเด็ก เยาวชน และครอบครัวสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ดิจิทัล ได้แก่ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์พกพาส่วนตัว และเลือกใช้สื่อเพื่อตอบสนองความต้องการในการใช้งานและเปิดรับข้อมูลข่าวสารได้อย่างไม่มีขีดจำกัดและยากต่อการควบคุม ...
    • การพัฒนานโยบายสุขภาพแรงงานข้ามชาติเพื่อตอบรับวิกฤติโรคระบาด: กรณีศึกษาไวรัสโควิด-19 

      ชลนภา อนุกูล; Cholnapa Anukul; ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana; ศิววงศ์ สุขทวี; Siwawong Sooktawee; รัศมี เอกศิริ; Rutsamee Eksiri; ธัญชนก วรากรพัฒนกุล; Thanchanok Varakornpattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      การระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ผ่านมาเป็นโอกาสดีที่สะท้อนให้เห็นความจำเป็นในการพัฒนานโยบายและมาตรการทางสุขภาพที่ครอบคลุมกลุ่มประชากรทุกกลุ่ม โครงการการพัฒนานโยบายสุขภาพแรงงานข้ามชาติเพื่อตอบรับวิกฤตโรคระบาด: กรณีศึกษาไวรัสโควิด-19 ...
    • สถานะสุขภาพและการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้ลี้ภัยในเมืองในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การวิเคราะห์เชิงนโยบายและการสำรวจความจำเป็นด้านสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; นารีรัตน์ ผุดผ่อง; Nareerut Pudpong; วาทินี คุณเผือก; Watinee Kunpeuk; สตพร จุลชู; Sataporn Julchoo; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; พิกุลแก้ว ศรีนาม; Pigunkaew Sinam; ปณิธี ธัมมวิจยะ; Panithee Thammawijaya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-19)
      แม้รัฐบาลไทยมีนโยบายที่ค่อนข้างชัดเจนในการดูแลสุขภาพสำหรับแรงงานต่างด้าวและผู้ติดตาม แต่ก็เป็นที่น่าสังเกตว่านโยบายการดูแลสุขภาพสำหรับผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมืองยังไม่ปรากฏเป็นรูปธรรมนัก ปัจจุบันมีผู้ลี้ภัยและผู้ขอ ...
    • ผลกระทบของโปรแกรมดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโดยทีมหมอครอบครัวในอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Saenkong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ในปี 2559 รัฐบาลมีนโยบายขับเคลื่อนระบบการดูแลระยะยาว (long-term care: LTC) สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น มีการจัดบริการ LTC โดยมีทีมหมอครอบครัวและศูนย์ดูแลระยะยาว ...
    • การพัฒนาสุขศาลาพระราชทานแบบมีส่วนร่วมบนฐานของชุมชนในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ จังหวัดน่าน 

      นภดล สุดสม; Napadol Sudsom; ถนัด ใบยา; Thanat Baiya; วิชัย นิลคง; Wichai Nikong; ชัยวุฒิ วันควร; Chaiwut Wankhuan; ธนเสฏฐ์ สายยาโน; Tanasate Saiyano; พิษณุ อินปา; Phitsanu Inpa; กรภัทร ขันไชย; Khooraphat Kanchai; เพ็ญพักตร์ ภิรัญคำ; Penpuk Pirunkum; วิภาพร ทิพย์อำมาตย์; Wipaporn Thiparmart; กมลฉัตร จันทร์ดี; Kamonchat Chandee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ในปีพุทธศักราช 2549 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำริให้จัดตั้งสุขศาลาพระราชทานในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) และพื้นที่ห่างไกลขึ้น ทรงมุ่งหวังว่านอกจากการเป็นที่พึ ...
    • การศึกษาพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการจัดซื้อและกระจายเวชภัณฑ์ร่วมของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      ปกรณ์ เสริมสุข; Pakorn Sermsuk; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ; Wuttipong Pongsuwan; หงษ์ลัดดา พงศ์สุวรรณ; Hongladda Pongsuwan; ปัญจรัตน์ หาญพานิช; Panjarat Hanpanich; ทิพยรัตน์ เตชะยืนยง; Tipparat Techayuenyong; พาณี ชูบุญทรัพย์; Panee Chuboonsub; รัตนาภา ติษยางกูร; Ratanapa Tisyangkul; สรณวรรณ สรรสพร; Saranawan Sansaporn; พรวิมล อนุกูลประเสริฐ; Pornwimol Anukoolprasert; รัชดา นามวรรณ; Rachada Namwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02-10)
      งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นที่การศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการจัดซื้อและกระจายเวชภัณฑ์ร่วมของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการเพื่อให้เกิดการดำเนินการที่เป็นรูปธรรม พร้อมทั้งออกแบบและพัฒนาระบบนำร่อ ...
    • คู่มือความปลอดภัยการแปรรูปหมอนยางพาราของแรงงานนอกระบบ 

      ศิริพร ด่านคชาธาร; Siriporn Darnkachatarn; จันจิรา มหาบุญ; Junjira Mahaboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      คู่มือความปลอดภัยการแปรรูปหมอนยางพาราของแรงงานนอกระบบ เล่มนี้ ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานที่ทำงานแปรรูปหมอนยางพารารับรู้ถึงความเสี่ยงในการทำงาน ตระหนักถึงอั ...
    • การพัฒนารูปแบบการป้องกันอันตรายจากการทำงานของคนงานแปรรูปหมอนยางพารา จังหวัดนครศรีธรรมราช 

      ศิริพร ด่านคชาธาร; Siriporn Darnkachatarn; จันจิรา มหาบุญ; Junjira Mahaboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการรับรู้ความเสี่ยงและพฤติกรรมการป้องกัน ควบคุมความเสี่ยงจากการทำงานของคนงานแปรรูปหมอนยางพารา 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ความเสี่ยงและพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมคว ...
    • การศึกษาอุบัติการณ์ของการเกิดวัณโรคในผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีซีดีสี่ที่ต่างกันหลังได้รับยาต้านไวรัสและนวัตกรรมการอ่านผลการทดสอบทูเบอร์คูลินทางผิวหนังด้วยตัวเองเพื่อคัดกรองหาวัณโรคแฝงในผู้ป่วยเอชไอวี 

      กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      บทนำ: การให้ยารักษาวัณโรคระยะแฝงในผู้ป่วยเอชไอวีในประเทศไทยยังไม่ได้มีการใช้อย่างแพร่หลายน่าจะเกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย แต่หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญที่สุด คือ แพทย์ส่วนใหญ่คิดว่า การให้ยาต้านไวรัสเพียงอย่างเดียวจะสามารถลดอุบัต ...
    • การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานโดยใช้ระบบทะเบียนวัณโรคแบบอิเล็กทรอนิกส์ 

      ณสิกาญจน์ อังคเศกวินัย; Nasikarn Angkasekwinai; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin; ก่อพงษ์ ทศพรพงศ์; Koapong Tossapornpong; จันทิรา สุขะสิฐษ์วณิชกุล; Junthira Sukhasitwanichkul; ณฐกร จันทนะ; Nathakron Chantana; อำนาจ คำศิริวัชรา; Amnat Khamsiriwatchara; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
      การเฝ้าระวังวัณโรคด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic TB surveillance) มีประโยชน์ทั้งในการเก็บข้อมูลผู้ป่วยระดับบุคคลและการวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวม ทำให้ทราบภาพรวมและความคืบหน้าของการดูแลวัณโรคในระดับประเทศได้อย่างรวดเร็ว ...
    • Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ; Mukdavan Prakobvaitayakit; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; อุษาวดี สุตะภักดิ์; Usawadee Sutapuk; กรรณิการ์ กิจติเวชกุล; Kannikar Kijtiwatchakul; นพวรรณ อังกูรศันสนีย; Noppawan Angkulsansanee; สิริลักษณ์ บัวเจริญ; Siriluk Buacharoen; ลภัสรดา อึ๊งเจริญ; Lapasrada Aungcharoen; พนิตา สุวรรณน้อย; Panita Suwannoi; สุกัณฑา หมวดทอง; Sukunta Muadthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ความเป็นมา: การถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคนิค ตลอดจนเครื่องมืออุปกรณ์และมีปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปบทเรียนการทำงานขององค์การเภสัชกรรม ...
    • ประสาทหูเทียม 

      ภาธร ภิรมย์ไชย; Patorn Piromchai; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; วรินทร พุทธรักษ์; Warinthorn Phuttharak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      ประสาทหูเทียม (Cochlear Implant) เป็นนวัตกรรมใหม่ ในประเทศไทยยังขาดหนังสือที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประสาทหูเทียมและใช้เป็นแหล่งอ้างอิงได้ ทางบรรณาธิการจึงพยายามรวบรวมผู้นิพนธ์จากสหสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ทั้งโสต ศอ นาสิกแพทย์ ...