Now showing items 541-560 of 5767

    • การศึกษาวิจัยเชิงวิเคราะห์สังเคราะห์สภาพปัญหาจากคำพิพากษาเกี่ยวกับคดีความผิดพลาดทางการแพทย์เพื่อนำไปสู่วิธีระงับข้อพิพาททางการแพทย์ที่เหมาะสมในประเทศไทย 

      วิเชษฐ์ สินประสิทธิ์กุล; Wichet Sinprasitkul; ธานี วรภัทร์; Thanee Vorapatr; ไพโรจน์ บุญศิริคำชัย; Pairoj Boonsirikumchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาททางการแพทย์ที่เหมาะสมในประเทศไทย ปัจจุบันปัญหาระหว่างสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์เป็นศาสตร์คนละศาสตร์ที่ต้องมาหาจุดร่วมกันที่จะหาทางออกเวลาเกิดข้อพิพาท ...
    • ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย (Sinovac) ครบแล้ว 2 เข็ม ด้วยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ณัฐินี สุทธินรเศรษฐ์; Natthinee Sudhinaraset; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; สมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์; Sompong Vongpunsawad; จิรัชญา พื้นผา; Jiratchaya Puenpa; จิระ จันท์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; ชมพูนุช อู่พิมาย; Chompoonut Auphimai; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ได้กลายเป็นปัญหาด้านการดูแลสุขภาพและสาธารณะมีความรุนแรงทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดการระบาดครั้งแรกในปลายเดือนธันวาคม 2019 ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนโควิด-19 ในหลายประเทศแต่ก็ยั ...
    • ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในช่วงการระบาดของ COVID-19 

      จิราภรณ์ ชูวงศ์; Jiraporn Choowong; พัชราภรณ์ ตุลยกุล; Phatcharapon Tulyakul; เจียมจิต โสภณสุขสถิตย์; Jiamjit Sophonsuksathit; สุวิมล มณีโชติ; Suwimon Maneechote; เพ็ญจันทร์ มณีโชติ; Penjan Maneechote; ประไพ เจริญฤทธิ์; Prapai Jarernrit; เสาวณีย์ ปล้องหอย; Saowanee Plonghoy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ในประเทศไทยส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน โครงการวิจัยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ...
    • การวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3 : บทความวิชาการ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      บทความวิชาการ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย ระยะที่ 3
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*15:02 เพื่อประกอบการใช้ยา carbamazepine ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • การสังเคราะห์หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของการให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยวิกฤตที่มีภาวะไตวายเฉียบพลันในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; อาทร ริ้วไพบูลย์; Arthorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      ไตวายเฉียบพลันเป็นภาวะที่ไตเกิดการสูญเสียการทำงานลงในช่วงเวลาเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน หากรักษาด้วยยาไม่หาย การบำบัดทดแทนไตจึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่รอดได้ ซึ่งการบำบัดทดแทนไตในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 4 ...
    • COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เอกสารงานวิจัย เรื่อง COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 ฉบับนี้ อยู่ภายใต้โครงการวิจัย การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ...
    • การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ฉัตรกมล พีรปัญญาวรานันท์; Chatkamol Pheerapanyawaranun; กานต์ชนก ศิริสอน; Kanchanok Sirison; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittidovorndit; บงกช เกอเค่; Bongkoch Goeke; KC, Sarin; Dabak, Saudamini Vishwanath (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      วัคซีนโควิด-19 ถือเป็นมาตรการที่เป็นความหวังอันสำคัญในการควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคอย่างยั่งยืน และส่งผลทางอ้อมให้ภาครัฐสามารถผ่อนปรนมาตรการอื่นๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ฉะนั้น ...
    • COVID-19 Evidence Update: การศึกษาเรื่องการสลับวัคซีนโควิด-19 บอกอะไรเราบ้าง 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      1. การศึกษาเรื่อง Com-COV1 พบว่าการฉีดวัคซีนแบบสลับด้วยวัคซีน AstraZeneca เข็มแรก และ Pfizer-BioNTech เป็นเข็มที่ 2 ห่างกัน 4 สัปดาห์ ให้ผลในการสร้างภูมิต้านทานบางชนิด ไม่ด้อยกว่าการฉีดวัคซีน AstraZeneca ทั้งสองเข็ม ...
    • COVID-19 Evidence Update: มีประเทศใดบ้างที่แนะนำให้มีการฉีดวัคซีนกระตุ้นภูมิคุ้มกันโควิด-19 เข็มที่ 3 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2564 มี 7 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บาห์เรน ตุรกี สาธารณรัฐโดมินิกัน อินโดนีเซีย และสหราชอาณาจักร ที่มีนโยบายแนะนำให้มีการฉีดวัคซีนภูมิคุ้มกันโควิด 19 เข็มที่ 3 ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ...
    • COVID-19 Evidence Update: การฉีดวัคซีนโควิด-19 แบบสลับหรือเปลี่ยนชนิดในต่างประเทศ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ในต่างประเทศมีการฉีดวัคซีนต่างชนิดหรือต่างบริษัทผู้ผลิต โดยเหตุผลส่วนใหญ่ คือ 1. ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากวัคซีน (AstraZeneca ในเข็มสอง) 2. แก้ปัญหาวัคซีนขาดคราว 3. ฉีดกระตุ้นภูมิ (booster dose) ในประชากรกล ...
    • COVID-19 Evidence Update: เมื่อวัคซีนทั่วโลก ปะทะ โควิดกลายพันธุ์ วัคซีนชนิดไหนลดอาการป่วยจากสายพันธุ์ต่างๆ ได้เท่าไหร่บ้าง 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ข้อมูลวัคซีนชนิดต่างๆ ในการลดอาการป่วยจากโควิดสายพันธุ์ต่างๆ
    • COVID-19 Evidence Update: 10% ของชาวอิสราเอลที่ไม่รับวัคซีน ส่งผลอย่างไรกับวิกฤตโควิดระลอกใหม่ในประเทศ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ในปัจจุบัน 15% (ประมาณ 1,105,000 คน) ของชาวอิสราเอลที่มีอายุเกิน 12 ปี และ 10% (ประมาณ 755,000 คน) ที่มีอายุเกิน 20 ปี ยังคงไม่ได้รับวัคซีน ถึงแม้ว่าจะมีสิทธิรับวัคซีนก็ตาม และคนกลุ่มนี้เองที่มีรายงานว่าเป็นคนส่วนใหญ่ที่ ...
    • COVID-19 Evidence Update: รู้หรือไม่ ข้อความแจ้งเตือนสามารถกระตุ้นให้คนมาฉีดวัคซีนมากขึ้นได้ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ทุกประเทศมีประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 10 ถึง 20 ไม่ยอมรับวัคซีนทั้งที่มีวัคซีนอย่างเพียงพอ ดังนั้นรัฐบาลประเทศต่างๆ จึงพยายามค้นหาวิธีทำให้ประชาชนรับวัคซีนโควิดได้มากที่สุด หนึ่งในกลยุทธ์ที่น่าสนใจและได้รับการพิสูจน์จากงานวิจัย ...
    • การสังเคราะห์ทางเลือกและข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการปฏิรูปบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร (อสส.) เพื่อมุ่งสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 

      ภูดิท เตชาติวัฒน์; Phudit Tejativaddhana; ธันวดี สุขสาโรจน์; Thunwadee Suksaroj; ชีระวิทย์ รัตนพันธ์; Cheerawit Rattanapan; อรพินท์ เล่าซี้; Orapin Laosee; วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; อรุณศรี มงคลชาติ; Aroonsri Mongkolchati; สมศักดิ์ วงศาวาส; Somsak Wongsawass; ภานุวัฒน์ ปานเกตุ; Panuwat Panket; ชวินทร์ ศิรินาค; Chawin Sirinak; ชาติชาย สุวรรณนิตย์; Chatchay Suvannit; สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ; Somboon Sirisunhirun; ศักดา อาจองค์ วัลลิภากร; Sakda Arj-Ong Vallibhakara (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04-28)
      การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีเป้าประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการปฏิรูปบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)/อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร (อสส.) เพื่อมุ่งสู่การบรรลุเป้าหมายพัฒนาที่ยั่งยืน ...
    • ประสิทธิผลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรับรักษาผู้ป่วย โควิด-19 ที่มีภาวะปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; จินตนา จิรถาวร; Chintana Chirathaworn; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; พรพิตรา ประเทศรัตน์; Pornpitra Pratedrat; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; สมนึก สังฆานุภาพ; Somnuek Sungkanuparph; นิธิตา นันทตันติ; Nithita Nanthatanti; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; Chaicharn Deerochanawong; สมคิด อุ่นเสมาธรรม; Somkid Ounsematham; เปี่ยมลาภ แสงสายัณห์; Piamlarp Sangsayunh; วีรวัฒน์ มโนสุทธิ; Weerawat Monosuthi; วิชัย เตชะสาธิต; Wichai Techasathit; พลิตา เหลืองชูเกียรติ; Palita Lungchukiet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีการระบาดไปทั่วโลก โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดของเชื้อครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การ ...
    • การติดตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิต้านทานระยะยาวต่อ SARS-CoV-2 ในผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-19 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; พิชญา นาควัชระ; Pijaya Nagavajara; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; จินตนา จิรถาวร; Chintana Chirathaworn; จิระ จันท์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; จิรัชญา พื้นผา; Jiratchaya Puenpa; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; มานิต ศรีประโมทย์; Manit Sripramote; ปิติ ฉลองวิริยะเลิศ; Piti Chalongviriyalert; สุพรรณี จิรจริยาเวช; Supunnee Jirajariyavej; ภัทรพร เกียรติปานอภิกุล; Phatharaporn Kiatpanabhikul; จตุพร ไสยรินทร์; Jatuporn Saiyarin; ชุลีกร โสอุดร; Chuleekorn Soudorn; อรวรรณ เธียรไฝ่ดี; Orawan Thienfaidee; ฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา; Thitisan Palakawong Na Ayuthaya; ฉันทพัทธ์ พฤกษะวัน; Chantapat Brukesawan; ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และ เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเชื้อ SARS-CoV-2 ให้รวดเร็วที่สุด จึงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ...
    • การพัฒนาเครื่องมือและประเมินความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      การวิจัยนี้เป็นการประเมินระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประชาชนไทย (Rational Drug Use Literacy, RDUL) แบ่งการดำเนินการออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาเครื่องมือวัดความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDUL ...
    • การศึกษาระบบบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามในสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบุษราคัม 

      อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์; Apiradee Nantsupawat; อรอนงค์ วิชัยคำ; Orn-Anong Wichaikhum; กุลวดี อภิชาติบุตร; Kulwadee Abhicharttibutra; ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์; Thitinut Akkadechanunt; คัทลียา ศิริภัทรากูร แสนหลวง; Cattaliya Siripattarakul Sanluang; เกศราภรณ์ อุดกันทา; Kedsaraporn Udkunta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05-06)
      โรงพยาบาลบุษราคัมเป็นโรงพยาบาลสนามขนาดใหญ่เฉพาะด้านในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ชั่วคราวที่มีความทันสมัยในการดูแลผู้ป่วยครบวงจร ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ตามมาตรฐานการรักษา รวมทั้งระบบการส่งต่อ อย่างไรก็ตามการศึกษาระบบบริหาร ...