Show simple item record

Thailand's policies on genetic modified organisms

dc.contributor.authorสุรวิช วรรณไกรโรจน์th_TH
dc.contributor.authorSuwit Wanakairoten_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:17:45Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:43:47Z
dc.date.available2008-12-04T05:17:45Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:43:47Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1206en_EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1181en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก : รายงานการวิจัยนโยบายของประเทศไทยเรื่องสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรมen_US
dc.description.abstractสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรมมีศักยภาพในการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ แต่การตอบรับสินค้ากลุ่มนี้ในตลาดโลกมีจำกัด การวิเคราะห์ด้านทรัพย์สินทางปัญญาด้านความเสี่ยงต่อระบบนิเวศ ด้านองค์กรและกฎระเบียบ และด้านเศรษฐศาสตร์ พบว่าประเทศไทยควรใช้นโยบาย “การใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัยและเท่าทัน” ในเรื่องสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม โดยต้องเร่งรัดให้มีการตราระบบกฎหมายด้านความปลอดภัยทางชีวภาพให้สมบูรณ์ภายในเวลา 3 ปี พร้อมทั้งเสริมสร้างขีดความสามารถของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการกำกับดูแล และเผยแพร่ความรู้ความเสี่ยงจากการใช้และบริโภคตลอดจนความรับผิดชอบของผู้พัฒนาและผู้ผลิตสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม เพื่อรองรับการนำเทคโนโลยีมาใช้เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ทั้งนี้จะต้องจัดตั้งองค์กรด้านนโยบายและด้านการกำกับดูแลขึ้นเป็นการถาวรโดยให้มีองค์ประกอบและอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ก่อนให้องค์กรด้านนโยบายซึ่งมีหน้าที่พิจารณากำหนดแนวทางในการศึกษาวิจัย และอนุญาตให้มีการปลูกเลี้ยงทดสอบหรือผลิตสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรมในระบบเปิดเริ่มทำหน้าที่ โดยระหว่างนี้ต้องมีการพัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านความปลอดภัยทางชีวภาพเป็นหลัก และต้องมุ่งเน้นในงานวิจัยที่ตอบสนองทั้งความต้องการของสังคมไทยและความต้องการของตลาด และสามารถขอรับสิทธิบัตรได้ อนึ่งหน่วยงานในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควรเป็นผู้ทำหน้าที่กำกับดูแลงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ สำหรับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งหมดจากการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม จะเป็นไปตามหลักการ polluter – pay เนื่องจากยังไม่มีหลักประกันว่าสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรมมีความเสี่ยงต่อระบบนิเวศไม่มากกว่าสิ่งมีชีวิตปกติth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Public Policy and Health Impact Assessmenten_US
dc.subjectGenetic Engineeringen_US
dc.subjectนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectการตัดแต่งพันธุ์กรรมen_US
dc.subjectพันธุ์วิศวกรรมen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleนโยบายของประเทศไทยเรื่องสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรมth_TH
dc.title.alternativeThailand's policies on genetic modified organismsen_US
dc.description.abstractalternativeGenetically Modified Organisms have a great potential in national economic development. However, the global market acceptance is presently yet quite limited. Intellectual property, ecological risk, organization, rule and regulation as well as economic analyses indicated that Thailand should impose the so-call “Safe Use of Forefront Technology” policy on GMOs issue. Prior to the acceptance of the technology for the enhancement of the country competativeness, the enacting process to have a complete legal system on biosafety must be accelerated in order to have the system fully implemented within 3 years. Capacity building for government officials who will responsible in controlling GMOs must also be urgently executed. The knowledge on the risk from using and consuming GMOs as well as the responsibility of GMOs developers and producers should be disseminate nationwide. Policy organization and regulatory organization must be permanently established to oversee the GMOs issue. The component and the role of these organizations must be stated in an Act. The above action has to be fully in place before the policy organization starts working. The policy organization will consider and determine the national direction on research, study and utilization of GMOs, especially in an open system. For the time being, capacity building in science and technology must be emphasize on biosafety management. Other research works must aim to obtain a patent able result as well as to serve the demand of Thai society and her markets. A unit in the Ministry of Natural Resource and Environment should be assigned to implement the biosafety regulation. The expense arising from GMOs utilization shall be born to the producer, on polluter – pay principle. The above suggestion is based on the present evidence that cannot yet confirm that GMOs do not pose higher risk than ordinary organisms.en_US
dc.identifier.callnoQH442.6 ส848น [2548]en_US
dc.identifier.contactno47ค065en_US
dc.subject.keywordGeneticcally Modified Organisms(GMOs)en_US
dc.subject.keywordสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรมen_US
.custom.citationสุรวิช วรรณไกรโรจน์ and Suwit Wanakairot. "นโยบายของประเทศไทยเรื่องสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1181">http://hdl.handle.net/11228/1181</a>.
.custom.total_download15
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs1206.pdf
Size: 1.269Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record