Show simple item record

Benchmarks of fairness for evaluating the Thai Health Care Redorms

dc.contributor.authorสัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorSamrit Srithamrongsawatsen_US
dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัยen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:09Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:34:14Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:09Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:34:14Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0705en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1239en_US
dc.description.abstractชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบการนำเครื่องมือนี้ไปใช้ในการประเมินผลการปฏิรูประบบสาธารณสุขของจังหวัดภายใต้โครงการปฏิรูประบบสาธารณสุขที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพยุโรป และทดสอบประเมินข้อเสนอการปฏิรูประบบสุขภาพไทยที่เสนอผ่านธนาคารพัฒนาเอเชีย ชุดมาตรวัดความเป็นธรรมที่ได้ปรับจากต้นแบบ ประกอบด้วยมาตรวัด 9 ด้านด้วยกัน โดยมาตรวัดแรกเป็นการสาธารณสุขสหสาขา เป็นการประเมินปัจจัยด้านสังคมที่มีผลต่อสุขภาพ มาตรวัดที่ 2 – 5 เป็นมาตรวัดเกี่ยวกับความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ มาตรวัดที่ 6 และ 7 ประเมินด้านประสิทธิภาพของระบบ มาตรวัดที่ 8 เป็นการประเมินความเป็นประชาธิปไตย ความรับผิดชอบต่อสังคม และการเสริมพลังให้แก่ประชาชน และมาตรวัดสุดท้ายเป็นเรื่องความเป็นอิสระของผู้ให้บริการและผู้บริโภค เมื่อพิจารณาชุดมาตรวัดดังกล่าวจะเห็นว่ามิได้จำกัดเฉพาะการประเมินด้านความเป็นธรรมแต่ได้มองอย่างรอบด้าน ทั้งนี้เนื่องจากภายใต้ภาวะทรัพยากรที่จำกัดนั้น การที่จะให้ระบบมีความเป็นธรรมมากขึ้นจำเป็นที่ระบบจะต้องมีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส และมีระบบการตรวจสอบควบคุมกำกับร่วมด้วย เพื่อให้มีทรัพยากรเพียงพอในการที่จะมากระจายความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นในสังคม เครื่องมือดังกล่าวมุ่งหวังในการใช้เป็นกรอบในการประเมินความรอบด้าน จุดแข็งจุดอ่อนของข้อเสนอ/แผน และการปฏิรูประบบสุขภาพ โดยอาศัยความเห็นของผู้ประเมินในการให้ค่าในลักษณะของการจัดลำดับ (ranking) สิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น/ผลสำเร็จที่เกิดขึ้น พร้อมกับการให้เหตุผลสนับสนุนการประเมิน จากการทดสอบการใช้เครื่องมือในการประเมินทั้งผลสำเร็จของการปฏิรูป และข้อเสนอการปฏิรูป พบว่าเครื่องมือดังกล่าวสามารถใช้ในการประเมินทั้งสองกรณี อย่างไรก็ดีการใช้เป็นเครื่องมือประเมินข้อเสนอหรือแผนการปฏิรูปมีความเหมาะสมกว่าเพื่อตรวจสอบแผน ปัจจัยนำเข้า กลไก กฎเกณฑ์ และกระบวนการตรวจสอบ ว่าจะนำไปสู่เป้าหมายที่ต้องการมากน้อยเพียงใด ในการนำไปใช้ประเมินความสำเร็จในการปฏิรูปของจังหวัดนั้นพบว่ามีข้อโต้แย้งมาก และมีความแปรปรวนของคะแนนที่ให้ค่อนข้างมาก สืบเนื่องจากข้อจำกัดด้านการรับรู้ข้อมูลของผู้ประเมินกลุ่มต่างๆ ดังนั้นหากเป็นการประเมินความสำเร็จของการปฏิรูปการวัดในเชิงปริมาณอาจมีความเหมาะสมมากกว่า สำหรับในการนำไปใช้นั้นจำเป็นต้องมีการปรับรายละเอียดให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละระดับและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ และควรต้องมีการให้เหตุผลประกอบในการให้คะแนน ทั้งนี้เครื่องมือดังกล่าวมีจุดเด่นตรงที่มุ่งตรวจสอบทั้ง แผน ปัจจัยนำเข้า กลไก กฎเกณฑ์กระบวนการ ตลอดจนผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent4493096 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Care Reform -- Thaien_US
dc.subjectระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
dc.titleชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทยen_US
dc.title.alternativeBenchmarks of fairness for evaluating the Thai Health Care Redormsen_US
dc.description.abstractalternativeBenchmarks of Fairness for Evaluating the Thai Health Care ReformsThis study aims to test the adapted benchmarks as a tool to assess the ADB' s proposal on health system development published in 1999 and to evaluate the achievement of health care reform activities in two provinces supported by EU, Payoa and Yasothon. 0The adaped benchmarks compose of 9 benmarks. The first benchmark concerns with intersectional public health or intersectional efforts to improve social determinants. Benchmarks 2-5 relate to equity issues and benchmarks 6-7 intend to evaluate efficiency of the system, Benchmarks 8 concerns with democracy, accountability, and empowerment, provider and consumer autonomy are the final benchmarks. The tool is aimed to use as a framework for policy analysis, indentifying strengths and weaknesses of the reform proposal, ensuring that appropriate inputs, mechanisms, and strategies are existed to achieve equity. To use the benchmarks, a scoring system is applied as a ranking on complex dimensions, not cardinal measures of some quantity, in addition to an explanation for it's rationale of score provided. In testing the adaped benchmarks, it shows that the benchmarks could be used as a tool to assess both achievement of reform and assess reform proposal. However, assessment of reform proposal may be more appropriate in use since there were large variations of score in assessing achievement in both proviness.In testing the adapted benchmarks, it shows that the benchmarks could be used as a tool to assess both achievement of reform and assess reform proposal. However, assessment of reform proposal may be more appropriate in use since there were large variations of score in assessing achievement in both provinces. Background and perception of evaluators determine the different of score provided, therefore, interpretation of the result should be made with caution especially, when it has been used to assess achievement of the reform. Providing information before scoring process would reduce deviation and improving reliable of the score. The details of each benchmark should be adopted to fit with the contexts of particular country or province.en_US
dc.identifier.callnoW84 ส216ช 2543en_US
dc.subject.keywordFairnessen_US
dc.subject.keywordBenchmarksen_US
dc.subject.keywordเครื่องมือen_US
dc.subject.keywordความเป็นธรรมในระบบสุขภาพen_US
dc.subject.keywordปฏิรูประบบสุขภาพen_US
.custom.citationสัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์, Samrit Srithamrongsawats and ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย. "ชุดเครื่องมือวัดความเป็นธรรมเพื่อประเมินผลการปฏิรูประบบสุขภาพไทย." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1239">http://hdl.handle.net/11228/1239</a>.
.custom.total_download91
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs0705.PDF
Size: 4.738Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record