Show simple item record

Need and want analysis for public health information services

dc.contributor.authorศิริชัย ศิริกายะen_US
dc.contributor.authorSirichai Sirikayaen_US
dc.contributor.authorบุญชาล ทองประยูรen_US
dc.contributor.authorจีรบุณย์ ทัศนบรรจงen_US
dc.contributor.authorนภาวรรณ ตันติเวชกุลen_US
dc.contributor.authorกุลธิดา ธรรมวิภัชน์en_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:09Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:42:46Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:09Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:42:46Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0312en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1374en_US
dc.description.abstractการวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการบริการข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบถึงความจำเป็นและต้องการที่ใช้ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขของกลุ่มเป้าหมาย 9 กลุ่ม ดังนี้คือ กลุ่มนักสื่อสารมวลชน กลุ่มเจ้าหน้าที่สาธารณสุข กลุ่มครู กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มผู้ใช้แรงงานในโรงงาน กลุ่มผู้นำท้องถิ่น กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มสูงอายุ โดยการใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เจาะลึก และกลุ่มสนทนากลุ่มเล็ก จำนวนผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมด 745 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร และจังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้1. กลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 9 กลุ่ม มีความต้องการ (felt need) ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขในเรื่องเกี่ยวกับโรคต่าง ๆ มากกว่า ข้อมูลเกี่ยวกับการมีสุขภาพที่ดี 2. สาเหตุที่มีความต้องการข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขของกลุ่มนักสื่อสารมวลชน กลุ่มเจ้าหน้าที่สาธารณสุข กลุ่มครู เพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ กลุ่มแม่บ้าน นอกจากใช้เพื่อตนเองแล้วยังนำไปใช้เพื่อดูแลคนในบ้าน กลุ่มวัยรุ่นกับกลุ่มผู้สูงอายุ ต้องการใช้ข้อมูลเพื่อการดูแลตัวเอง กลุ่มผู้ใช้แรงงานในโรงงานกับกลุ่มวัยทำงาน ไม่ได้ให้ความสนใจกับข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขมากนัก กลุ่มผู้นำท้องถิ่นเป็นกลุ่มที่ต้องการการพัฒนาเรื่องการใช้ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข 3. ความสำคัญของความต้องการข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขขึ้นอยู่กับ ระดับความสัมพันธ์ที่บุคคลในกลุ่มต้องดูแลผู้อื่น เช่น พยาบาลต้องดูแลผู้ป่วย ครูต้องสอนนักเรียน และแม่บ้านต้องรับผิดชอบคนในบ้านวิธีการตอบสนองต่อความต้องการข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข ควรเริ่มจากการสร้างความสนใจในข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขเสียก่อน แล้วผูกโยงข้อมูลที่จะให้สอดคล้องกับความเข้าใจของกลุ่มต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว ใช้กลยุทธ์ทางการสื่อสารที่เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย และใช้สื่อที่กลุ่มเป้าหมาย ได้ระบุเอาไว้ในการรับข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectPublic Health--Medical Informationen_US
dc.subjectHealth Information Needsen_US
dc.subjectHealth Services Needs and Demanden_US
dc.subjectข่าวสารสาธารณสุขen_US
dc.subjectสาธารณสุข--ะบบข้อมูลen_US
dc.subjectระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการบริการข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขen_US
dc.title.alternativeNeed and want analysis for public health information servicesen_US
dc.description.abstractalternativeNeed and want analysis for public health information servicesThe purpose of this study is to explore the needs and wants of nine target groups in using health information : the massmedia practitioner, the public health personnel, the teacher, the housewife, the factory worker, the community leader, the teenager, the working adult, and the elder. The study employed the qualitative research method. The data was colleccted by the technique of in-depth interviews and small focus-groups access 745 key informants who were members of nine target groups and lived in Bangkok and Chiengmai. The results of the study were as follows : 1.All nine target groups felt more the need for health information concerning various types of deseases than for of health information concerning good health. 2.The finding indicated different purposes using health information among the nine groups. The mass media practitioner, public health personnel and the teacher used health information for their professions. The houswife's purpose was to both take care of herself and others in the household. The teenager and the elder used the information just for themselves. The working adult and the factory worker did not pay much attention to health information. The community leader was the only group which wanted to develop their capacity to use health information.3.The importance of needs and wants in using health information depended on the relationship that one has to the care of others ; for example, nurses have to take are of patients, teachers have to teach students, housewives have to take care other people in the family. 4.The proper way to respons to the needs for health information is to start first by creating attention/interest in health information. Then, by using the communication strategies which are compatiable with the target group, to associate the information with their previous understanding. It is important as well to use the medium as which target groups indicated as their preferred source of health information.en_US
dc.identifier.callnoW26.5 ศ237ร 2541en_US
dc.subject.keywordPublic Healthen_US
dc.subject.keywordInformation Serviceen_US
dc.subject.keywordHealth Informationen_US
dc.subject.keywordFelt-needen_US
dc.subject.keywordระบบข้อมูลข่าวสารen_US
.custom.citationศิริชัย ศิริกายะ, Sirichai Sirikaya, บุญชาล ทองประยูร, จีรบุณย์ ทัศนบรรจง, นภาวรรณ ตันติเวชกุล and กุลธิดา ธรรมวิภัชน์. "การวิเคราะห์ความจำเป็นและความต้องการของการบริการข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1374">http://hdl.handle.net/11228/1374</a>.
.custom.total_download147
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs0312.pdf
Size: 524.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record