Show simple item record

Perception and media exposure to health care in Chiang Rai

dc.contributor.authorปรีชา อุปโยคินth_TH
dc.contributor.authorPhrecha Uphayokinen_US
dc.contributor.authorอภิสม อินทรลาวัณย์th_TH
dc.contributor.authorทรงสรรค์ อุดมศิลป์th_TH
dc.contributor.authorรักชนก เจนวรากุลth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:18Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:33:54Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:18Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:33:54Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1170en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1539en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบสถานการณ์การรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพของประชาชนในจังหวัดเชียงราย โดยการศึกษาในพื้นที่ อำเภอเมือง แม่จัน แม่สาย เชียงแสน เวียงชัย เทิง ป่าแดด และพาน การศึกษาครั้งนี้กลุ่มเป้าหมายมี 5 กลุ่มดังนี้ คือ (1) กลุ่มข้าราชการ และพนักงานของรัฐ (2) กลุ่มลูกจ้างเอกชน และรับจ้าง (3) กลุ่มเกษตรกร (4) กลุ่มเจ้าของกิจการ และ(5) กลุ่มนักเรียน นักศึกษา การศึกษา พบว่า สื่อที่ได้รับความนิยม โดยแบ่งตามชนิดของสื่อ ดังนี้คือ สื่อหนังสือพิมพ์รายวันของประเทศ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ และคมชัดลึก สำหรับหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ได้แก่ หนังสือพิมพ์เชียงรัฐ เชียงรายนิวส์ และสื่อเชียงราย โดยความนิยมในการอ่านคอลัมน์เกี่ยวกับสุขภาพ ปัญหาสุขภาพ และความเจ็บป่วย รวมทั้งการตอบปัญหาการแพทย์ ในหนังสือพิมพ์รายวันของประเทศ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลินิวส์ และข่าวสด สื่อนิตยสารเกี่ยวกับสุขภาพ ที่ได้รับความนิยม ได้แก่ นิตยสารใกล้หมอ นิตยสาร ชีวจิต นิตยสารหมอชาวบ้าน สื่อโทรทัศน์ที่ได้รับความนิยม ได้แก่ ช่อง 7 ช่อง 3 และช่อง 9 สำหรับรายการโทรทัศน์ที่ได้รับความนิยมในแต่ละช่อง คือ รายการผู้หญิง ผู้หญิง ทางช่อง 3 รายการบ้านเลขที่ 5 ทางช่อง 5 รายการครบเครื่องเรื่องผู้หญิง ทางช่อง 7 รายการหมอสุรพล ทางช่อง 9 รายการหน้าต่างสุขภาพ ทางช่อง 11 และรายการ Health Station ทางช่องไอทีวี โดยช่องโทรทัศน์ที่ประชากรกลุ่มตัวอย่างนิยมชมรายการเกี่ยวกับสุขภาพ ได้แก่ ช่อง 7 ช่อง 3 และช่อง 5 สำหรับการรับรู้สื่อด้านสุขภาพ พบว่า ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากมากไปหาน้อย ได้แก่ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ สื่อบุคคล นิตยสาร/วารสาร หอกระจายข่าว แผ่นพับ ใบปลิวและโปสเตอร์ โดยแสดงความคิดเห็นว่าสื่อจะต้องมีความชัดเจน มีปริมาณข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่มาก ซึ่งข้อมูลข่าวสารมีผลต่อความเข้าใจ และการดูแลสุขภาพของตนเอง โดยกลุ่มเป้าหมายมีความเชื่อถือสื่อบุคคลมากที่สุด คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข โดยเมื่อมีการเจ็บป่วย หรือมีปัญหาด้านสุขภาพ ประชากรกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เลือกปรึกษาแพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รองลงมาคือเพื่อนหรือญาติ และหาเอกสาร ข้อมูลจากสื่อสิงพิมพ์การสื่อสารผ่านสื่อมวลชนมีข้อจำกัด และมีผลต่อการรับรู้ การสร้างความตระหนักด้านสุขภาพ โดยอิทธิพลที่มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ได้แก่ ความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรมท้องถิ่น ปัจจัยสภาวะสิ่งแวดล้อม และประสบการณ์ด้านสุขภาพth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1672590 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectHealth Educationen_US
dc.subjectChiang Raien_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectสุขศึกษาen_US
dc.subjectระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพen_US
dc.subjectเชียงรายen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการรับรู้และการเข้าถึงสื่อสาธารณสุขในจังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativePerception and media exposure to health care in Chiang Raien_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to explore the people’s perception and exposure to health care regarding health news and medias in ChiangRai province. especially in the district of Muang, Mae Chan, Mae Sai, ChiangSaen, WiangChai, Thoeng, Pa-Daet, and Phan. The target groups of study were divided into 5 groups: (1) government officers, (2) private employees and general laborers, (3) agriculturalists, (4) private-business owners, and (5) school and college students. The study found that the most popular medias can be classified by media type as follow: Newspaper: National newspapers namely Thai Rath, Daily News and Kom Chad Luk are most popular. Local newspapers are Chaing Rath, Chiang Rai News, and Sue Chaing Rai. Those newspapers are the sources for people to acquire health news namely, Health education column and Medical consultative feather in the newspaper at the national ones Health mechanize: the most popular ones are Klai Maw, Cheewachita and Maw Chaow Bann. Television: the most popular TV channel is channel 7, Channel 3 and channel 9 respectively. The most popular TV programs are Phu Ying Phu Ying, from Channel 3, Ban Number 5 from channel 5, Kroob Krueng Reung Phu Ying from channel 7, Maw Surapol from channel 9, Health Window from channel 11 and Health Station from ITV. In term of which media people can be able to obtain health information and news most, the study found that they are television, newspaper, radio, personnel, journal, village broadcasting service brochure leaflet and Poster. People agreed that most effective media has to have accurate and adequate amount of health news and information in order to maintain and health self care taking. The target group of this study has their trust on health personnel most when getting sick or having health problems. In term of the health person people consult with; the first group are medical doctor, nurse and public - health care personnel and the second group is comprised of friend or relative document consultation, and newspaper. In all, despite of having an influence on the health perception of public, medias are still having limitations. Health awareness is the most effective mean to alter public behaviors in the way that changing attitude, perception, believe, value, environmental factors, experiences, and individual readiness.en_US
dc.identifier.callnoWA590 ป467ก 2548en_US
dc.identifier.contactno47ค024en_US
dc.subject.keywordPerceptionen_US
dc.subject.keywordHealth Newsen_US
dc.subject.keywordHealth Mediasen_US
dc.subject.keywordHealth Careen_US
dc.subject.keywordการรับรู้en_US
dc.subject.keywordข่าวสารสุขภาพen_US
dc.subject.keywordสื่อสาธารณสุขen_US
dc.subject.keywordการดูแลสุขภาพen_US
.custom.citationปรีชา อุปโยคิน, Phrecha Uphayokin, อภิสม อินทรลาวัณย์, ทรงสรรค์ อุดมศิลป์ and รักชนก เจนวรากุล. "การรับรู้และการเข้าถึงสื่อสาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1539">http://hdl.handle.net/11228/1539</a>.
.custom.total_download334
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year4

Fulltext
Icon
Name: hs1170.pdf
Size: 901.6Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record