Show simple item record

Economic evaluation of Thai Health Foundation’s operation by measuring the willingness to pay of households

dc.contributor.authorพัทธรา ลีฬหวรงค์en_US
dc.contributor.authorนัยนา ประดิษฐ์สิทธิกรen_US
dc.contributor.authorมนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์en_US
dc.contributor.authorสุรเดช ดวงทิพย์สิริกุลen_US
dc.contributor.authorลี่ลี อิงศรีสว่างen_US
dc.contributor.authorรุ่งนภา คำผางen_US
dc.contributor.authorทรงยศ พิลาสันต์en_US
dc.contributor.authorสุมาลัย สมภิทักษ์en_US
dc.contributor.authorยศ ตีระวัฒนานนท์en_US
dc.date.accessioned2012-03-20T05:54:23Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:19:22Z
dc.date.available2012-03-20T05:54:23Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:19:22Z
dc.date.issued2555-02en_US
dc.identifier.otherhs1931en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3458en_US
dc.description.abstractการประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ ในรูปแบบของการประเมินความเต็มใจ จ่ายของครัวเรือนต่อมาตรการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณค่าที่ประชาชนมอบให้โดยใช้วิธีการวัดความเต็มใจจ่ายของ ครัวเรือน ในแผนงานที่สำคัญ 6 แผนงานซึ่งคัดเลือกโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ สัมพันธ์กับความเต็มใจจ่ายของครัวเรือนในแต่ละแผนงานของ สสส. ซึ่งบ่งชี้ถึงลักษณะของประชากรที่ เล็งเห็นคุณค่าของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพของ สสส. และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่สัมพันธ์กับ พฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบผลิตภัณฑ์ยาสูบและการออกกำลังกาย โดยงานวิจัยดังกล่าวเป็นการสำรวจครัวเรือนไทยภาคตัดขวางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และ 10 จังหวัด ตามภูมิภาคต่างๆ ประกอบด้วยจังหวัด เชียงราย นครสวรรค์ ยโสธร หนองคาย นครราชสีมา เพชรบุรี ฉะเชิงเทรา พระนครศรีอยุธยา พัทลุง และชุมพร เก็บข้อมูลทั้งสิ้น 7,311 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ ข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามเรื่องเศรษฐานะและสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว เช่น โรค ประจำตัว ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ และออกกำลังกาย การรู้การดำเนินมาตรการสร้างเสริม สุขภาพของ สสส. และสื่อวิดีทัศน์ในการให้ข้อมูลแผนงานของ สสส. 6 แผนงาน ได้แก่ แผนควบคุมการ บริโภคยาสูบ แผนควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แผนสนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุและ อุบัติภัย แผนควบคุมปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ เรื่องอาหารและโภชนาการ แผนส่งเสริมการออกกำลังกาย และกีฬาเพื่อสุขภาพ และแผนสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent5937934 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ : การประเมินความเต็มใจจ่ายของครัวเรือนต่อมาตรการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.title.alternativeEconomic evaluation of Thai Health Foundation’s operation by measuring the willingness to pay of householdsen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoW74 พ987ก 2555en_US
dc.identifier.contactno54-020en_US
dc.subject.keywordการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subject.keywordความเต็มใจจ่ายen_US
.custom.citationพัทธรา ลีฬหวรงค์, นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร, มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์, สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล, ลี่ลี อิงศรีสว่าง, รุ่งนภา คำผาง, ทรงยศ พิลาสันต์, สุมาลัย สมภิทักษ์ and ยศ ตีระวัฒนานนท์. "การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ : การประเมินความเต็มใจจ่ายของครัวเรือนต่อมาตรการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3458">http://hdl.handle.net/11228/3458</a>.
.custom.total_download172
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1931-ฉบับพิมพ์.pdf
Size: 8.112Mb
Format: PDF
Icon
Name: hs1931-ฉบับวิจัย.pdf
Size: 6.379Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record