Now showing items 1-20 of 21

    • Taichi and the Blinds ถอดบทเรียนโครงการสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทางการเห็นในชุมชน 

      กนกพร อัศวเมธิกาพงศ์; ณัฐวรรณ ชูสุวรรณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      โครงการสร้างเสริมสุขภาพคนพิการทางการเห็นในชุมชน เป็นโครงการที่มุ่งหวังให้ครูฝึกทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว หรือ O&M ได้สามารถนำเครื่องมือที่เคยได้เรียนรู้จากการอบรมร่วมกับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ...
    • You can do it : designed by disability 

      ภัทรีพันธ์ พงศ์วัชร์; เบญจางค์ สุขจำนงค์; นริศา ปิ่นวาสี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      งานสร้างเสริมสุขภาพประชาชน ไม่ได้เป็นการทำงานด้านสาธารณสุขอย่างเดียวเท่านั้นแต่ยังมีอีกหลากหลายมิติที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวข้องและเป็นป ...
    • การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล:ประสบการณ์การทำงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; ปัทมา ศิริเวช; พรรณพิมล วิปุลากร; ชาติชาย มุกสง; แพรว เอี่ยมน้อย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : ทันตสุขภาพ 

      อัฏฮียะห์ มูดอ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้(สวรส.ภาคใต้)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2552-05)
      การศึกษาทบทวน เรื่อง บูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : ทันตกรรม โดยศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ด้านทันตกรรมจากหลักศาสนา คุณธรรม จริยธรรมของอิสลาม ข้อมูลที่ได้สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในการให้ประชาชน ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : สุขภาพจิต 

      อิสมาอีล โดยิ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2552-06)
      การศึกษาทบทวน เรื่อง บูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : สุขภาพจิต โดยศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิตจากหลักศาสนา คุณธรรม จริยธรรมของอิสลาม ข้อมูลที่ได้สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในการให้ประชาชน ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : อาหารและโภชนาการ 

      ซอฟียะห์ นิมะ; ยูซูฟ นิมะ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้(สวรส.ภาคใต้)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2552-07)
      เอกสารฉบับนี้นำเสนอสถานการณ์ ปัญหาด้านอาหารและโภชนาการ ตัวชี้วัดสถานะ บทบัญญัติและวัฒนธรรมอิสลาม งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาอาหารและโภชนาการ พร้อมกันนี้ได้วิเคราะห์ถึงมาตรการที่จะแก้ไขปัญหา จากงานวิจัยและบัญญัต ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : โรคเรื้อรัง(โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง) 

      มะหามะ เมาะมูลา; ยูซูฟ นิมะ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2552-05)
      เอกสารฉบับนี้นำเสนอสถานการณ์ ปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรังสามโรค คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง พร้อมกันนี้ได้วิเคราะห์ถึงมาตรการที่จะแก้ไขปัจจัยเสี่ยงของโรคดังกล่าวจากงานวิจัยและบท ...
    • การพัฒนาระบบการดูแลโรคหืด เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิระดับอำเภอ (CUP) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      วัชรา บุญสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ท่ามกลางสถานการณ์สุขภาพที่ปรับเปลี่ยนเป็นภาวะโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นอันเนื่องจากสังคมไทยปรับเป็นสังคมผู้สูงอายุ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปมีผลกระทบต่อสุขภาพมากขึ้น โรคหืดเป็นปรากฏการณ์หนึ่งของภาวะสุขภาพที่มีผลกระทบมาจากสภาพ ...
    • การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2) งบประมาณและรายจ่ายด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3) ผลงานบริการสร้างเสร ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินงานมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
    • คู่มือการนวดไทยเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ 

      สำลี ใจดี; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; วันดี โภคะกุล; ประพจน์ เภตรากาศ; รัชนี จันทร์เกษ; สุดารัตน์ สุวรรณพงศ์; สุพัตรา สันทนานุการ (สถาบันสุขภาพวิถีไทย, 2552-08)
      คู่มือการนวดไทยเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุได้นำความรู้ไปใช้ในการนวดตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพดี ป้องกันอาการต่างๆ อันเนื่องจากสภาวะความเสื่อมตามวัย คู่มือการนวดไทยเพื่อการเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ ...
    • คู่มือการปฏิบัติตัวสำหรับผู้สูงอายุโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 

      สมจิตต์ สินธุชัย; Somchit Sinthuchai; นุสรา นามเดช; Nusara Namdej; ประไพ กิตติบุญถวัลย์; Prapai Kittiboonthawal; สุดา เดชพิทักษ์ศิริกุล; Suda Dejpitaksirikul; จีราภรณ์ ชื่นฉ่ำ; Jeeraporn Chuencham; กันยารัตน์ อุบลวรรณ; Kanyarat Ubolwan; ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-11)
      คู่มือการปฏิบัติตัวสำหรับผู้สูงอายุโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตัว เนื้อหาประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง อาการภาวะแทรกซ้อน การดูแลตนเองเ ...
    • คู่มือการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สำหรับบุคลากรสุขภาพ 

      สมจิตต์ สินธุชัย; Somchit Sinthuchai; นุสรา นามเดช; Nusara Namdej; ประไพ กิตติบุญถวัลย์; Prapai Kittiboonthawal; สุดา เดชพิทักษ์ศิริกุล; Suda Dejpitaksirikul; จีราภรณ์ ชื่นฉ่ำ; Jeeraporn Chuencham; กันยารัตน์ อุบลวรรณ; Kanyarat Ubolwan; ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04)
      ปัจจุบันพบว่าแนวโน้มผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานมีจำนวนมากขึ้น เป้าหมายของการรักษาโรคเบาหวานคือการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ ผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ จะทำให้มีภาวะแทร ...
    • คู่มือเกณฑ์มาตรฐานการบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม 

      ซอฟียะห์ นิมะ; Sawpheeyah Nima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      คู่มือเกณฑ์มาตรฐานการบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม เล่มนี้ อยู่ภายใต้โครงการการประยุกต์ใช้ระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในระบบบริการสุขภาพภาครัฐทั้งสามระดับต่อการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดบริการที่สอดคล้องกับบริบทภูมิสังคมในจังหวัดชายแดนใต้ ...
    • นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพชุมชน 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • พลังปัญญา: สู่การพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ภาคที่ 3 พัฒนาการของระบบบริการ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ; สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; Health Systems Research Institute; National Health Security Office; National Health System Reform Office; Thai Health Promotion Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เอกสารและบทความวิเคราะห์สถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวเนื่องกับระบบประกันสุขภาพเล่มนี้ เป็นผลจากความเพียรพยายามของนักวิชาการและนักวิจัยจำนวนหนึ่งที่ได้เริ่มทำการศึกษาสร้างความเข้าใจต่อแนวคิดและวิธีการที่นำมาใช้อย่างต่อเนื่อง ...
    • สรุปสาระสำคัญ นวัตกรรม : สร้างสรรค์สร้างเสริมสุขภาพชุมชน 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)
    • เมนูการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่ เล่ม 1 

      รัชนี สรรเสริญ (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าศูนย์ประสานงานเครือข่ายวิจัยประเิมินโครงการ ภายใต้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, 2553)
      จากการวิจัยประเมินผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่ และถอดบทเรียนผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่ พบว่าศักยภาพของแต่ละกองทุนมีความแตกต่างกันในวิธีการดำเนินงานการสร้างเสริมสุขภาพ ...
    • เมนูการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่ เล่ม 2 

      รัชนี สรรเสริญ (ศูนย์ประสานงานเครือข่ายวิจัยประเิมินโครงการ ภายใต้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2553)
      จากการวิจัยประเมินผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่ และถอดบทเรียนผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นในระดับพื้นที่ พบว่าศักยภาพของแต่ละกองทุนมีความแตกต่างกันในวิธีการดำเนินงานการสร้างเสริมสุขภาพ ...
    • แนวทางการดูแลสุขภาพสตรีในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      มุกดา สำนวนกลาง; ชัยโรจน์ ขุนมงคล; คณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      หนังสือเล่มนี้เป็นชุดความรู้ที่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการให้ปรับปรุงระบบบริการสุขภาพของภาครัฐทุกระดับให้ได้มาตรฐาน โดยยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขียนโดยผู้ปฏิบัติงานจากประสบการณ์ตรงและสังเครา ...