Show simple item record

A randomized, placebo-controlled house dust mite (HDM) subcutaneous allergen immunotherapy study in HDM persistent allergic rhinitis (MITAR)

dc.contributor.authorพงศกร ตันติลีปิกรth_TH
dc.contributor.authorPongsakorn Tantilipikornth_TH
dc.contributor.authorพรรณทิพา ฉัตรชาตรีth_TH
dc.contributor.authorสุพินดา ชูสกุลth_TH
dc.contributor.authorอิโรชิ จันทาภากุลth_TH
dc.contributor.authorสงวนศักดิ์ ธนาวิรัตนานิจth_TH
dc.contributor.authorภาสุรี แสงศุภวานิชth_TH
dc.contributor.authorสุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์th_TH
dc.contributor.authorทิชา ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์th_TH
dc.contributor.authorบุญสาม รุ่งภูวภัทรth_TH
dc.contributor.authorสุปราณี ฟูอนันต์th_TH
dc.contributor.authorอธิก แสงอาสภวิริยะth_TH
dc.contributor.authorอรทัย พิบูลโภคานันท์th_TH
dc.contributor.authorต่อพงษ์ ทองงามth_TH
dc.contributor.authorประภาศรี กุลาเลิศth_TH
dc.contributor.authorฐนิตา ทวีธรรมเจริญth_TH
dc.contributor.authorประภาพร นพรัตยาภรณ์th_TH
dc.date.accessioned2019-02-13T09:03:04Z
dc.date.available2019-02-13T09:03:04Z
dc.date.issued2562-02
dc.identifier.otherhs2471
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5023
dc.description.abstractโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ ซึ่งประกอบด้วยโรคภูมิแพ้ทางจมูกและโรคหืดนั้น เป็นโรคที่ใช้ยารักษาที่มีราคาสูง ได้แก่ ยาพ่นและยารับประทานซึ่งไม่ใช่การรักษาที่จำเพาะต่อโรคเป็นเพียงการทุเลาอาการและลดการอักเสบเท่านั้น การรักษาที่จำเพาะเพื่อปรับเปลี่ยนภาวะภูมิแพ้ได้ คือ การรักษาด้วยวัคซีนภูมิแพ้อาสาสมัครที่มีอาการจมูกอักเสบภูมิแพ้ทั้งหมดจำนวน 343 ราย ได้ถูกคัดเลือกจากคลินิกโรคภูมิแพ้ จำนวน 13 แห่ง ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย 8 แห่ง โดยมีผู้ป่วยที่เข้าได้กับเกณฑ์คัดเลือกของการศึกษา จำนวน 146 ราย ผู้ป่วยจำนวน 108 ราย ได้รับการสุ่มให้รับการรักษาด้วยวัคซีนภูมิแพ้ไรฝุ่นร่วมกับการรักษาตามมาตรฐานสำหรับโรคภูมิแพ้และผู้ป่วยจำนวน 36 ราย ได้รับการสุ่มให้อยู่ในกลุ่มควบคุม คือ ได้รับการรักษาภูมิแพ้ตามมาตรฐานร่วมกับการฉีดยาหลอก ข้อมูลพื้นฐานของทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยวัคซีนภูมิแพ้ไรฝุ่นรอบ 1 ปี มีค่ามัธยฐานของอาการทางจมูกจากค่าเริ่มต้น 7.30 (6.6, 8.2) ลดลง 3.8 (-1.4, -5.3) ซึ่งลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) และมีค่าเฉลี่ยของอาการทางจมูกจากค่าเริ่มต้น 7.45±1.21 ลดลง 3.34±2.65 ซึ่งลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) เช่นกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับยามาตรฐานร่วมกับการฉีดยาหลอก ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของทั้งสองค่า หลังรับวัคซีนภูมิแพ้ครบหนึ่งปี ร้อยละ 66.7 ของอาสาสมัครในกลุ่มที่ได้รับวัคซีน สามารถลดปริมาณการใช้ยาได้ร้อยละ 50 และร้อยละ 23.23 สามารถหยุดยาแก้แพ้ได้ โดยอาสาสมัครในกลุ่มที่ได้รับวัคซีน ร้อยละ 84.85 สามารถรับวัคซีนภูมิแพ้ขนาดสูงสุดคือ 500 unit ได้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทั้งหมด 423 เหตุการณ์จากจำนวนการฉีดยา 4,444 ครั้ง (ร้อยละ 9.52) ส่วนมากเกิดในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนภูมิแพ้ (325 จาก 423 เหตุการณ์, ร้อยละ 76.83) โดยเป็นการแพ้หลายระบบ 77 เหตุการณ์ (ร้อยละ 2.31) พบในอาสาสมัคร 47 คน (ร้อยละ 32.64) การแพ้หลายระบบพบในกลุ่มที่ได้รับวัคซีน 40 คน และพบในกลุ่มควบคุม 7 คนth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectAllergyth_TH
dc.subjectโรคภูมิแพ้th_TH
dc.subjectภูมิแพ้--การรักษาth_TH
dc.subjectภูมิแพ้--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการศึกษาแบบสหสถาบันเรื่องการฉีดวัคซีนภูมิแพ้ไรฝุ่น เพื่อเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์สำหรับแนวทางการรักษาโรคภูมิแพ้ทางจมูกเรื้อรังที่มีอาการรุนแรงปานกลางหรือรุนแรงมาก (ปีที่ 2)th_TH
dc.title.alternativeA randomized, placebo-controlled house dust mite (HDM) subcutaneous allergen immunotherapy study in HDM persistent allergic rhinitis (MITAR)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeRespiratory allergy, which consists of allergic rhinitis (AR) and allergic asthma (AA), requires high cost of medical treatment. These medications can only temporally relieve the allergic symptoms without any modification of an allergic hypersensitivity status. The only option that can modify the immunologic status is the allergen immunotherapy Three hundred and forty three subjects with chronic rhinitis was screened from 13 centers in Thailand. One hundred and forty six patients had been recruited according to the inclusion criteria, in which 108 subjects was randomly assigned into the intervention group (receiving immunotherapy and standard treatment) and 36 subjects had been assigned to the controlled group (receiving standard treatment with placebo injection). The clinical characteristics between two groups were not statistically significant. After one year, the median composite score in the intervention group decreases 3.8 score comparing to the baseline (p < 0.001). But comparison between the intervention group and control group was not statistically significant. After one year of treatment, 66.7 percent of subjects in the intervention group can reduce their medication use by 50%. Moreover, 23% of subjects in the intervention group were medication-free after 1 year of allergen immunotherapy. Eighty five percent of subject tolerate the 500 allergen unit dosage of vaccine. There were 423 adverse events (AE) out of 4,444 injections, 2.31% of total AEs (77/423 events) were systemic reactions.th_TH
dc.identifier.callnoWF150 พ112ก 2562
dc.identifier.contactno59-073
dc.subject.keywordAllergic Airway Diseaseth_TH
dc.subject.keywordโรคภูมิแพ้ทางระบบหายใจth_TH
.custom.citationพงศกร ตันติลีปิกร, Pongsakorn Tantilipikorn, พรรณทิพา ฉัตรชาตรี, สุพินดา ชูสกุล, อิโรชิ จันทาภากุล, สงวนศักดิ์ ธนาวิรัตนานิจ, ภาสุรี แสงศุภวานิช, สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์, ทิชา ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์, บุญสาม รุ่งภูวภัทร, สุปราณี ฟูอนันต์, อธิก แสงอาสภวิริยะ, อรทัย พิบูลโภคานันท์, ต่อพงษ์ ทองงาม, ประภาศรี กุลาเลิศ, ฐนิตา ทวีธรรมเจริญ and ประภาพร นพรัตยาภรณ์. "การศึกษาแบบสหสถาบันเรื่องการฉีดวัคซีนภูมิแพ้ไรฝุ่น เพื่อเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์สำหรับแนวทางการรักษาโรคภูมิแพ้ทางจมูกเรื้อรังที่มีอาการรุนแรงปานกลางหรือรุนแรงมาก (ปีที่ 2)." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5023">http://hdl.handle.net/11228/5023</a>.
.custom.total_download65
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year8

Fulltext
Icon
Name: hs2471.pdf
Size: 39.05Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record