• พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีน ในประเทศไทย 

      ยงยุทธ ขจรธรรม; Yongyout Kachondham; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; จิตรา เศรษฐอุดม; พรพิศ ศิลขวุธท์; นิภา โรจน์รุ่งวศินกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2536)
      พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีน ในประเทศไทย การวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหา การบริโภคเครื่องดื่มผสมแคฟเฟอีนในประเด็นต่างๆ วิธีดำเนินการโดยเก็บข้อมูลจากประชากรกลุ่มอาชีพต่างๆ จำนวน ...
    • พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุไทย 

      อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; นิรนาท วิทยโชคกิติคุณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-10)
      พฤติกรรมการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมของผู้สูงอายุเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาการใช้ยา ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพที่ทำให้ผู้สูงอายุต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยา ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ...
    • พฤติกรรมการใช้สารเสพติดเพื่อความบันเทิงในเขตเมืองเชียงใหม่ 

      กนิษฐา ไทยกล้า; อภินันท์ อร่ามรัตน์; เจิมขวัญ รัชชุศานติ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553-02)
      ปัญหาสารเสพติดเป็นปัญหาที่เร่งด่วนที่น่าจะทำการศึกษาเพื่อให้ได้แนวทางในการเฝ้าระวังติดตามปัญหาที่รวดเร็วขึ้น และเป็นการสะท้อนสถานการณ์ปัญหาที่มีความชัดเจนยิ่งขึ้น การเฝ้าระวังสถานภาพ อุปทาน อุปสงค์ และผลกระทบของการใช้ ...
    • พฤติกรรมการใช้สารเสพติดในนักเรียนมัธยม : กรณีศึกษาในโรงเรียนแห่งหนึ่ง จ.อุบลราชธานี 

      จิรวัฒน์ มูลศาสตร์; Jirawat Mulsat; อินทิรา เรืองสิทธิ์; รัชนี วีระสุขสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อทราบพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของนักเรียนมัธยม ในโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งใน จ.อุบลราชธานี รวมทั้ง เหล้า, บุหรี่ โดยเน้นที่การใช้ยาบ้าหรือแอมเฟตามีน วิเคราะห์ถึงปัจจัยที่อาจส่งผลต่อพฤต ...
    • พฤติกรรมของผู้ดูแลกับภาวะการควบคุมโรคในผู้ป่วยเบาหวานสู่งอายุชนิดไม่พึ่งอินซูลิน อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ 

      สมยศ ศรีจารนัย; Somyos Sricharanai; วารี สุดกรยุทธ์; อรวลิน เถาว์ชาลี; วิชิตา ธิธรรมา; มีฤทธิ์ ศรีประไหม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      พฤติกรรมของผู้ดูแลกับภาวะการควบคุมโรคในผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุชนิดไม่พึ่งอินซูลิน อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้ข้อมูลในช่วงเวลาที่กำหนด (Cross-Sectional study) ...
    • พฤติกรรมจราจรของผู้ใช้รถใช้ถนนใน 8 จังหวัด ของประเทศไทย ปี พ.ศ.2535-2536 

      ปรากรม วุฒิพงศ์; Prakom Wuthiwong; จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ; อรุณ จิรวัฒน์กุล; วิพุธ พูลเจริญ; วินัย สวัสดิวร (กระทรวงสาธารณสุข ; คณะกรรมการระบาดวิทยาแห่งชาติ, ม.ป.ป.)
      การศึกษาวิจัยพฤติกรรมจราจรของผู้ใช้รถใช้ถนนใน 8 จังหวัด ของประเทศไทย ปี พ.ศ.2535-2536การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจต่อกฏจราจรที่สำคัญต่อการใช้รถใช้ถนนของผู้ขับขี่รถประเภทต่าง ๆ ...
    • พฤติกรรมปวดเมื่อยและแนวทางการแก้ปัญหาในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ศึกษาเปรียบเทียบในชุมชน 2 หมู่บ้าน 

      สุพัตรา ชาติบัญชาชัย; Supattra Chadbunchachai; วิชัย อัศวภาคย์; วิชัย อึงพินิจพงศ์; สุดตา ประกิระเค; สมบูรณ์ ศิริวิชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      พฤติกรรมปวดเมื่อยและแนวทางการแก้ปัญหาในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ:ศึกษาเปรียบเทียบในชุมชน 2 หมู่บ้าน การศึกษาพฤติกรรมปวดเมื่อยในประชาชนชนบท 2 หมู่บ้าน ซึ่งมีอายุ ( 15 ปี โดยความสมัครใจ ในเขตอำเภอน้ำพอง จ. ขอนแก่น ...
    • พฤติกรรมและการตอบสนองของแพทย์ต่อระบบผลตอบแทนและมาตรการจูงใจที่มีความหมายต่อการสร้างเสริมสุขภาพภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; Tipaporn Photawin; วิจิตร ระวิวงศ์; ระพีพรรณ คำหอม; ประภาศรี คุปต์กานต์; มาลี สันภูวรรณ์; Wichin Rawiwong; Rapeepan Khamhom; Phrapapan Khupakarn; Malee Sanpuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความรู้ความเข้าใจและการให้บริการของแพทย์ในด้านการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2) กระบวนการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน 3) มาตรการจูงใจและกลไกการจ่ายค่ ...
    • พฤติกรรมและการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้ใช้แรงงานก่อสร้างเคลื่อนที่ในเขตก่อสร้าง จ.สมุทรปราการภายใต้นโยบายการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) ระยะที่ 1 

      อุดมศักดิ์ มหาวีรวัฒน์; Udomsak Mahaveerawat (คณะสาธารณสุขศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547)
      การศึกษาเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางของกลุ่มแรงงานก่อสร้างเคลื่อนที่แบบชั่วคราวที่มีบัตรทอง (30 บาท รักษาทุกโรค) จำนวน 457 คน โดยการสุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนของจำนวนผู้ใช้แรงงานที่กระจายอยู่ตามสถานที่ก่อสร้าง ในแต่ละอำเภอของจังหว ...
    • พลวัตของระบบสุขภาพไทยกับพันธกิจของสวรส.ในอนาคต 

      อุทัย ดุลยเกษม; Uthai Dulyakasem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      ด้วยคํานิยามเกี่ยวกับ "ระบบสุขภาพ" (Health System) ไม่ค่อยชัดเจนนักแต่ในที่นี้ใช้คําว่า "ระบบสุขภาพ" ในความหมายครอบคลุมถึงกิจกรรมทุกอย่างที่มีวัตถุประสงค์หลักอยู่ที่การส่งเสริม (Promote) ป้องกัน (prevent) รักษา (Curing) ...
    • พัฒนาการของการควบคุมวัณโรคโดยยุทธวิธี Directly observed therapy, short-course (DOTS) ในประเทศไทยจนถึงกุมภาพันธ์ 2542 

      เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      พัฒนาการของการควบคุมวัณโรคโดยยุทธวิธี Directly Observed Therapy, Short-course (DOTs) ในประเทศไทยจนถึงกุมภาพันธ์ 2542DOTs เป็นยุทธวิธีหนึ่งที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรด้านสุขภาพระหว่างประเทศ เช่น องค์กรอนามัยโลก ...
    • พัฒนาการทางนโยบายของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      อำพล จินดาวัฒนะ; Amphon Jindawatthana; สุรณี พิพัฒน์โรจนกมล; Suranee Pipatrotchanakamol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      กระแสการปฏิรูประบบเพื่อสุขภาพในประเทศไทยมีความเข้มข้นสูงมากในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา สอดคล้องกับกระแสที่เกิดขึ้นทั่วโลก เนื่องจากเหตุผลหลายประการ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของคนไทยสูงขึ้นมากถึงปีละ 2-3 แสนล้านบาทและมีอัตราเ ...
    • พัฒนาการและการจัดการเครือข่ายผู้สูงอายุและเครือข่ายผู้พิการ กรณีศึกษาเทศบาลตำบลหนองตองพัฒนา อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 

      ฉันทนา พานทอง (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2555-06-06)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการของเครือข่ายผู้สูงอายุและเครือข่ายผู้พิการของเขตเทศบาลตำบลหนองตองพัฒนา และเพื่อศึกษาการจัดการเครือข่ายผู้สูงอายุและเครือข่ายผู้พิการของเขตเทศบาลตำบลหนองตองพัฒนา
    • พัฒนาดัชนี Diabetes risk score 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekphakorn (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการประเมินความเสี่ยงต่อเกิดเบาหวาน จากแบบสอบถามและการวัดดัชนีความอ้วน ใช้ข้อมูลการศึกษาทางระบาดวิทยาในกลุ่มพนักงานไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (EGAT study) ในการวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงของการเกิ ...
    • พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 2 

      ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; Piyatan Thasanawiwat; ราม รังสินธุ์; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบันได้ดําเนินงานในการพัฒนาระบบการวิจัยอย่างต่อเนื่องภายใต้โครงการ “การพัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 2” ซึ่งเป็นลักษณะการสนับสนุนทุนร่วมกับ สํานักงานคณะกรรมการว ...
    • พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 3 

      ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; ราม รังสินธุ์; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; วสี ดุลวรรธนะ; ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      การดําเนินงานของเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบันในปี 2551 ที่ผ่านมา ได้รับงบประมาณสนับสนุนหลักทั้งจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ภายใต้โครงการ "พัฒนาระบบการจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3” และจากกลุ่มสถาบันแพทยศาส ...
    • พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่นำไปปฏิบัติได้จริงในโรงพยาบาลทุกระดับ 

      สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; ณัฐเศรษฐ มนิมนากร; Nuttaset Manimmanakorn; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-21)
      การวิจัยเรื่อง พัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่นำไปปฏิบัติได้จริงในโรงพยาบาลทุกระดับ หรือ Development of Practical Care Plan for Stroke Patients in Multi-Level Hospital มีวัตถุประสงค์หลัก คือ ต้องการพัฒนารูปแ ...
    • พันธกิจ สวรส ในการตอบสนองเป้าประสงค์ในอนาคต พ.ศ.2548-2552 

      ฉัตรวรัญ องคสิงห์; Chatwarun Ongkasing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้แนวคิดพันธกิจสำหรับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส) ที่จะตอบสนองต่อเป้าหมายในอนาคตในระยะ 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2548-2552) เพื่อนำผลที่ได้มาเสนอเป็นกรอบทางเลือกเบื้องต้นให้กับคณะกรรมการ ...
    • พุทธกระบวนทัศน์เพื่อสุขภาพและการเยียวยาในสังคมไทย 

      วิชิต เปานิล; Wichit Paunil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษานี้สำรวจพระคัมภีร์พื้นฐานในพุทธศาสนาเพื่อดูว่าเมื่อพิจารณาพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นกระบวนทัศน์แล้ว กระบวนทัศน์พุทธศาสนาจะมีหลักการอย่างไร มีความแตกต่างจากกระบวนทัศน์อื่นอย่างไร ภายใต้กระบวนทัศน์นี้มีทัศนะต่อสุขภาพแล ...
    • ภาคีเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; สุชาดา ตั้งทางธรรม; Lukana Termsirikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)