Now showing items 1974-1993 of 2318

    • วิธีการพัฒนาสมุนไพรไทยให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถแข่งขันได้ในตลาดสากล 

      จีรเดช มโนสร้อย; Jiradej Manosroi; อรัญญา มโนสร้อย; Aranya Manosroi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ประเทศไทยมีภูมิปัญญาเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในทางยา เครื่องสำอางและเสริมอาหารมาเป็นเวลาช้านาน อย่างไรก็ตาม จนถึงขณะนี้ยังไม่มีผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยแม้แต่ผลิตภัณฑ์เดียวที่สามารถแข่งขันในตลาดสากลได้ โดยความเป็นจริงแล้ว ...
    • วิวัฒนาการของการควบคุมการบริโภคยาสูบในเมืองไทย 

      Choochai Supawongse; ชูชัย ศุภวงศ์; Supakorn Buasai; Jitsiri Thanapthara; สุภกร บัวสาย; จิตสิริ ธนภัทร (Health Systems Research Institute, 2541)
    • วิวัฒนาการของการควบคุมการบริโภคยาสูบในเมืองไทย 

      ชูชัย ศุภวงศ์; Choochai Supawongse; สุภกร บัวสาย; จิตสิริ ธนภัทร; Supakorn Buasai; Jitsiri Thanapthara (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วิวัฒนาการของการควบคุมการบริโภคยาสูบในเมืองไทยการศึกษาวิจัยเรื่องวิวัฒนาการของการควบคุมการบริโภคยาสูบในเมืองไทย เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อให้เห็นถึงวิวัฒนาการของการควบคุมการบริโภคยาสูบอย่างเป็นระบบ และทราบถึงเหตุ ...
    • วิวัฒนาการของการควบคุมโรคเอดส์ในประเทศไทย : แบบอย่างของการ พัฒนาแนวคิดส่งเสริมสุขภาพ 

      วิพุธ พูลเจริญ; Wiput Phoolcharoen; ปิติพร จันทรทัต ณ อยุธยา; วิภา ภาวนาภรณ์; วรัญญา เตียวกุล; ชวลิต ตันตินิมิตรกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      วิวัฒนาการของการควบคุมโรคเอดส์ในประเทศไทย : แบบอย่างของการพัฒนาแนวคิดส่งเสริมสุขภาพการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์วิวัฒนาการของการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในประเทศไทย นับตั้งแต่เริ่มมีการแพร่ระบาดของโรคเอด ...
    • วิวัฒนาการของการป้องกันอุบัติเหตุจราจร 

      บัญชร แก้วส่อง; Banchorn Kaewsong; พีระศักดิ์ ศรีฤาชา; บุษบา จันทร์ผ่อง; สุกัญญา เอมอิ่มธรรม; อมร สุวรรณนิมิตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      The evolution of traffic accident preventionThe research on the evolution of traffic accident prevention is aimed at 1)reviewing the evolution of the intervention for accident prevention in Thailand and 3 provinces of ...
    • วิวัฒนาการและโครงสร้างการดำเนินการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อในประเทศไทย 

      ปฐม สวรรค์ปัญญาเลิศ; Pathom Sawanpanyalert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      วิวัฒนาการและโครงสร้างการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อในประเทศไทย เป็นการทบทวนวิวัฒนาการของการดำเนินการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อในประเทศไทย เพื่อประกอบการพิจารณาการดำเนินงานควบคุมโรคทั ...
    • วิวัฒน์ของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ : สมดุลสร้างกับซ่อมสุขภาพ 

      สำนักงานโครงการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      วัตถุประสงค์ 1.เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ประสบการณ์และบทเรียนนำสู่ความเข้าใจร่วมกันถึงแนวคิด หลักการ และทิศ ทางการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิในประเทศไทย 2. เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวการพัฒนาระบบส ...
    • วิสัยทัศน์การปฏิรูประบบสุขภาพจากมุมมองกลุ่มผู้นำประเทศด้านการพัฒนาสังคม 

      มัทนา พนานิรามัย; Mattana Pananiramai; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; กำจร ตติยกวี; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; วิพุธ พูลเจริญ; สุภกร บัวสาย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อสังเคราะห์วิสัยทัศน์ ปรัชญาและแนวความคิดรากฐานของการปฏิรูประบบสุขภาพสำหรับประเทศไทย และเพื่อจุดประเด็นทางสังคมให้การปฏิรูประบบสุขภาพเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์และติดตามในลักษณะประเด็นสาธารณสุข ...
    • วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบสุขภาพประชาคมภาคอีสาน 

      บัญชร แก้วส่อง; Banchorn Kaewsong; พีระศักดิ์ ศรีฤาชา; อมร สุวรรณนิมิตร; สม นาสอ้าน; ธีรดา นามให (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1. เพื่อสังเคราะห์สภาพปัญหาของการพัฒนาสุขภาพในทัศนะของภาคประชาชน 2. เพื่อสังเคราะห์วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของการพัฒนาสุขภาพของภาคประชาชน 3. เพื่อสังเคราะห์และนำเสนอประเด็นสำคัญในการป ...
    • วิสัยทัศน์และแนวทางในการปฏิรูประบบสาธารณสุขเพื่อผู้สูงอายุไทยในอนาคต มุมมองจากประชาคม องค์กร ชุมชนด้านผู้สูงอายุ 

      มูลนิธิพัฒนาผู้สูงอายุ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานภาพการดำเนินงานของเครือข่ายภาคีองค์กรชุมชน/เอกชนที่ทำงานด้านผู้สูงอายุ 2) บทบาท ศักยภาพ กลยุทธ์การดำเนินงานขององค์กรชุมชนเอกชน/ชุมชน ระดับรากฐานที่ทำงานด้านผู้สูงอายุ 3) แนวคิด ...
    • วิเคราะห์การหาแหล่งเงินเพิ่มเติมสำหรับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์; Worawan Chanduaiywit; วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; Maslove, Allan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยได้ผ่านการปฏิรูปครั้งสำคัญในปี 2544 เมื่อเริ่มมีการดำเนินการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือรู้จักกันดีในนามของ “โครงการ 30 บาท” ในฐานะที่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าถือได้ว่าเป็น entitlement ...
    • วิเคราะห์วิธีคิดวิทยาในงานวิจัยเรื่องเพศภาวะและเพศวิถีกับเอดส์ศึกษา 

      กฤตยา อาชวนิจกุล; Kritaya Archavanitkul; กนกวรรณ ธราวรรณ; Kanokwan Tharawan (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2548)
      รายงานวิจัยนี้ วิเคราะห์วิธีคิดวิทยาที่อยู่เบื้องหลังงานวิจัยทางสังคมศาสตร์เรื่องเพศภาวะและเพศวิถีกับเอดส์ กระบวนทัศน์ (paradigm) ของการทำงานชิ้นนี้คือ การวิเคราะห์วาทกรรมและภาษาในงานวิจัยผ่านมุมมองสตรีนิยม ซึ่งเป็นการรื ...
    • วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จในการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      ศรีวิภา เลี้ยงพันธุ์สกุล; Srivipa Leangpunsakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-05-29)
      สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 3 จังหวัดชายแดนใต้เข้าขั้นวิกฤติ อัตรามารดาตายสูงกว่าเป้าหมายระดับประเทศประมาณ 3 เท่า และสูงกว่าเป้าหมาย MDGs Plus เกือบ 2 เท่าตัว ผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายในเกือบทุกตัวชี้วัด สาเหตุการเสียช ...
    • วิเคราะห์องค์กรส่งเสริมสุขภาพดีเด่น : บทเรียนเพื่อการพัฒนา 

      ประสิทธิ์ ลีระพันธ์; Prasit Leerapan; เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; ลักขณา เติมศิริกุลชัย; ทวีวรรณ ลีระพันธ์; ภรณี วัฒนสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วิเคราะห์องค์กรส่งเสริมสุขภาพดีเด่น: บทเรียนเพื่อการพัฒนา การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายกระบวนการดำเนินงานและผลงานขององค์กรส่งเสริมสุขภาพที่มีผลงานดีเด่น ตลอดจนอธิบายปัจจัยหรือเงื่อนไขเชิงระบบที่เป็นตัวกำหนดความสำเร็จ ...
    • ศักดิ์ศรีและความต้องการด้านศาสนาของคนพิการจากมุมมองคริสตศาสนาในสังคมไทย 

      เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, บาทหลวง; สุภาพร ดาวดี, เซอร์; Crabtree, Katherine (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-07)
      ผู้พิการเป็นกลุ่มบุคคลที่ประสบกับความยากลำบากในการดำรงชีวิตเนื่องจากพวกเขาไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างเต็มที่เหมือนคนปกติทั่วไป อย่างไรก็ตามยังมีผู้พิการอีกเป็นจำนวนมากที่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุข ในศาสนาคริส ...
    • ศักยภาพของการผลิตยาในปัจจุบันและแนวโน้มของเทคโนโลยีการผลิตยาในอนาคต 

      อำพล ไมตรีเวช; Amphon Mitreewach; ณรงค์ สาริสุต; ณัฐนันท์ สินชัยพานิช; มนต์ชุลี นิติพน; ฤดี เสาวคนธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการสนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยา โดยรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลในด้านศักยภาพของการผลิตยาในปัจจุบัน และแนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคต การศึกษาแบ่งออกเป็นสองส่วนใหญ่ ...
    • ศักยภาพของสื่อมวลชนในการสร้างเสริมสุขภาพ 

      ปาริชาต สถาปิตานนท์; Parichart Sathapitanon; กิตติ กันภัย; พัฒนพงส์ จาติเกตุ; ปิยะนารถ จาติเกตุ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพของสื่อมวลชนในการนำเสนอประเด็นด้านสุขภาพในประเทศไทย โดยประกอบด้วยงานวิจัยย่อย จำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ การทบทวนสถานภาพขององค์ความรู้ด้านสื่อมวลชนกับการสร้างเสริมสุขภาพที่มีเผยแพร่ใน ...
    • ศักยภาพประชาคมในการจัดการปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก 

      พิมพวัลย์ บุญมงคล; Pimpawan Boonmongkon; มัลลิกา มัติโก; นิภรณ์ สัณหจริยา; แววรุ้ง นาวาบุญนิยม; ธีรศักดิ์ พรหมพันใจ; อัมพร หมาดเด็น; ศุภเลิศ กิจขจรไพบูลย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      งานวิจัยนี้ศึกษาถึงศักยภาพประชาคมที่สนองตอบต่อปัญหาความรุนแรงทั้งในระดับมหภาคและปัจเจก โดยวิเคราะห์ตั้งแต่ภาพรวมของสถานการณ์ประชาคม การก่อเกิด แนวคิด พัฒนาการ บทบาท และรูปแบบในการจัดการปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก ...
    • ศักยภาพประชาสังคมภาคสตรีในการแก้ปัญหาเอดส์ 

      บุปผา วัฒนาพันธ์; Bubpha Wattabaphan; ศิวรักษ์ ศิวารมย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ผู้ป่วยโรคเอดส์มักจะถูกสังคมรังเกียจ ก่อให้เกิดการแตกแยกของครอบครัว ปัจจุบันวิกฤติโรคเอดส์ได้สะท้อนให้เห็นถึงการไร้ความสามารถในการจัดการขององค์กรภาครัฐและความเข้าใจของประชาชนในการจัดการด้านนี้ การเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อก ...
    • ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง : การสังเคราะห์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การพัฒนา 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้ต้องการประเมินศักยภาพที่ดำรงอยู่ของอสม.ในประเทศไทยที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ความรู้จากการทบทวนสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งจากเอกสารและการประชุมเชิงปฏิ ...