Now showing items 2108-2127 of 2320

    • สิทธิในสุขภาพ : จากเสรีนิยม สู่ชุมชนนิยม 

      ศรีประภา เพชรมีศรี; Sriprapha Petcharamesree (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      งานวิจัย สิทธิในสุขภาพ : จากเสรีนิยม สู่ชุมชนนิยม มีเป้าหมายที่การพิเคราะห์สาระของสิทธิมนุษยชนในแนวคิดทฤษฎีเสรีนิยมและชุมชนนิยม การศึกษาพยายามพิจารณาว่าจากสมมุติฐานที่มาที่แตกต่างกัน คือในขณะที่เสรีนิยมเน้นเสรีภาพของปัจเ ...
    • สิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงต่อสุขภาพ : มิติเชิงพื้นที่และข้อเสนอเชิงระบบ 

      รัฐพล อ้นแฉ่ง; วิสาข์ สุพรรณไพบูลย์; ลิวา ผาดไธสง-ชัยพานิช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      ในปัจจุบันข่าวคราวปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมของสังคมไทยได้รับการกล่าวถึงน้อยลง แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมจะหมดไป ในทางตรงกันข้าม ปัญหามลพิษกลับปรากฏอยู่ในพื้นที่ตามภูมิภาคต่างๆของประเทศมากขึ้นโดยไม่เป็นข่าว ...
    • สื่อวิทยุและสื่อโทรทัศน์เพื่อข่าวสุขภาพเพื่อประชาชน 

      สุภิญญา กลางณรงค์; Supinya Khlangnarong; โสวรรณ คงสวัสดิ์; พวงพนา คุณวัฒน์; Sowan Khongsavad; Phuangpana Khunwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      รายงานการวิจัยเรื่อง สื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อข่าวสารสุขภาพเพื่อประชาชน จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจรายวิทยุและรายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวเนื่องการสุขภาพของคนไทย โดยเน้นที่รายการเพื่อสุขภาพโดยตรง ทั้งนี้เริ่มจากการสำรวจผังรายการโดยภาพรวม ...
    • สุขภาพชายแดน: การข้ามพรมแดนเพื่อมารับบริการสุขภาพในประเทศไทยของผู้ป่วยจากประเทศเมียนมาร์ ลาวและกัมพูชา 

      ณิภัทรา หริตวร; ชนินตร์นันทร์ สุขเกษม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      สถานการณ์สาธารณสุขชายแดนเป็นสถานการณ์ที่ซับซ้อนเนื่องจากมีความแตกต่างทางบริบททางสังคมวัฒนธรรม ภูมิประเทศ การเมืองและเศรษฐกิจ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศ เมียนมาร์ กัมพูชา ลาวและมาเลเซีย ...
    • สุขภาพทางเพศและสิทธิอนามัยเจริญพันธ์ุของผู้พิการ 

      เพ็ญจันทร์ เชอร์เรอร์; อุบลพรรณ ธีระศิลป์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ, 2554-11)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพทางเพศและสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ในกลุ่มคนพิการ 2. ศึกษาสุขภาวะทางเพศ และประสบการณ์ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ในประเด็นประสบการณ์เรื่องเพศภาวะ เพศวิถี อนามัยเจริญพันธุ์ ...
    • สุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานมิติทางสังคมศาสตร์ 

      มหาวิทยาลัยมหิดล. โครงการจัดตั้งภาควิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      สุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานมิติทางสังคมศาสตร์การศึกษาวิจัยเรื่องสุขภาพและความปลอดภัยของแรงงานของไทยที่ผ่านมานั้น เป็นการศึกษาที่แยกส่วนและลดส่วน การแยกส่วนหมายถึง การแยกปัญหาของร่างกายออกจากจิตใจ และสังคมเป็นปัญหาแต่ละปัญหาไป ...
    • หนึ่งปีแรกของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiamworakul (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2547)
      รายงานวิจัยฉบับนี้เป็นการติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศในภาพรวม โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2544 - มิถุนายน 2545 รายงานฉบับนี้แบ่งออกเป็น 9 ตอน ตอนที่ 1 คือ บทนำ ตอนที่ 2 กล่าวถึงแนวคิดคว ...
    • หน่วยบริหารจัดการความรู้เพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2552-12)
      โครงการหน่วยบริหารจัดการความรู้เพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ได้รับงบประมาณสนับสนุนในการดำเนินงานจากแผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ภายใต้สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) โครงการ EU Project ...
    • หมอกควันในภาคเหนือ : ความรุนแรง ผลกระทบ สาเหตุและแนวทางการแก้ไข 

      ศุทธินี ดนตรี; ทิพวรรณ ประภามณฑล; สมพร จันทระ; ลิวา ผาดไธสง-ชัยพานิช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      เอกสารนี้เป็นการทบทวนและประมวลองค์ความรู้ที่มีอยู่มานำเสนออย่างเป็นระบบ ให้ผู้เกี่ยวข้องได้ศึกษาเรียนรู้และเป็นฐานข้อมูลสำหรับการกำหนดนโยบายในการแก้ไขปัญหาหมอกควัน เนื้อหาภายในประกอบด้วย หมอกควันกับมลพิษอากาศจากการเผาชีว ...
    • หยุดสารเคมีเกษตรเพื่อสุขภาพคนไทย 

      กมล สุกิน; Kamol Sukin; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การประชุมสมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่ และสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ เป็นกระบวนการจัดประชุมที่ให้ทุกฝ่ายได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างใช้ปัญญาและสมานฉันท์ เพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีของประชาชาติไทย ตามมาตรา 59 และมาตรา 60 ...
    • หลักฐานเชิงประจักษ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนประเทศไทย: การทบทวนวรรณกรรมแบบบูรณาการและการใช้เทคนิคเดลฟาย 

      ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn; ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; ศศิมาภรณ์ แหยงกระโทก; Sasimaporn Yaengkratok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทนำ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประเทศไทย ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความจำเป็นต่อการรักษาและควบคุมโรค พบว่า ผู้ป่วยเกินครึ่งไม่สามารถใช้ยาตามแผนการรักษาได้ ส่งผลกระทบต่ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2545-2546 : รายงานวิจัยเล่มที่1 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiarmworakul; Sasiwut Vongmontha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระหว่างปี 2544-2547 ซึ่งเป็นการสรุปการดำเนินงานของโครงการที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันสุขภาพของภาครัฐที่สำคัญ 4 โครงการคือ โครงการสวัสดิการข้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น : ความเป็นไปได้ของการบรรลุความครอบคลุมถ้วนหน้า 

      วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพทั่วหน้ากับการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข การทบทวนองค์ความรู้นี้ เป็นการตรวจสอบองค์ความรู้เชิงทฤษฎีและประสบการณ์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ...
    • หลักประกันสุขภาพในสายตาประชาชน 

      สำนักวิจัยเอแบค-เคเอสซีอินเตอร์เนตโพลล์(เอแบคโพลล์) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ; ABAC-KSC Internet Poll(ABAC POLL) Assumption University (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      หลักประกันสุขภาพในสายตาประชาชนการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำรวจรูปแบบหลักประกันสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วประเทศเพื่อสำรวจความเห็น ความเข้าใจและความคาดหวังของกลุ่มตัวอย่างประชาชนต่อนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อส ...
    • หลักสูตรการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีเมืองและการขนส่ง 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ปัญหาเรื่องเมืองและการขนส่ง ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับประชาชนจำนวนมาก ทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับไม่มีนโยบายการควบคุมรถยนต์ ไม่มีการวางผังเมือง สร้างก่อนแล้วจึงมาวางผังเมือง และถนน ส่งผลกระทบต่อการจราจร ความหนาแน่นและ ...
    • หลักสูตรการฝึกอบรมวิทยากรกระบวนการเพื่อการเปลี่นแปลง สู่การพึ่งพากันเอง วันที่ 18-28 มิถุนายน 2542 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
    • หลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในระดับท้องถิ่น 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ; แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      องคก์การบริหารส่วนท้องถิ่น เช่น องค์กรบริหารส่วนตำบล (อบต.) เป็นราชการส่วนท้องถิ่นมีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาท้องถิ่นที่สำคัญลำดับแรก ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการจัดบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตนเอง ...
    • หลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในระดับประเทศ 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ; แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการพัฒนาหลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพเพื่อสุขภาพระดับประเทศ โดยจัดขึ้น 5 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมจาก 3 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ...
    • หลักสูตรฝึกอบรมผู้ปกครองในการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; ภิญโญ อิสรพงศ์; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; วรรณกมล สอนสิงห์; นุจรี คำด้วง; สุรีรักษ์ พิลา; พัชนี พัฒนกิจโกศล; ชุตินาถ ศักรินทร์กุล; รณสิงห์ รือเรือง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมผู้ปกครองในการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อเด็กที่มีปัญหาพฤติกรรมเกี่ยวกับโรคส ...