Now showing items 1-4 of 4

    • การประเมินการใช้ยาก่อนและหลังการเบิกจ่ายตรงของสวัสดิการข้าราชการในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ในจังหวัดพิษณุโลก 

      ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-08-31)
      การเปลี่ยนแปลงนโยบายการเบิกจ่ายของสิทธิสวัสดิการข้าราชการจากการสำรองจ่าย เป็นการเบิกจ่ายตรงมีแนวโน้มส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการสั่งจ่ายยาของแพทย์ โดยทำให้แพทย์มีแนวโน้มการสั่งจ่ายยาในจำนวนที่เพิ่มขึ้นต่อการเข้ารับบริการของผ ...
    • การประเมินผลการให้บริการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของร้านยาในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล; Piyameth Dilokthornsakul; อดิณัฐ อำนวยพรเลิศ; Adinat Umnuaypornlert; ปาริชาติ ธัมมรติ; Parichart Thummarati; นิรัชรา ถวิลการ; Nirachara Tawinkan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      บทนำ : บริการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของร้านยาเป็นนโยบายของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาลรัฐและทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการ เริ่มมีการให้บริการตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 การประเมิน ...
    • การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1) 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล; Piyameth Dilokthornsakul; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์; Nantawarn Kitikannakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      รายจ่ายด้านยาเป็นสัดส่วนสำคัญในระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของทุกประเทศ การติดตามรายจ่ายด้านยาอย่างต่อเนื่องเป็นเป้าหมายของการวิจัยนี้ การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1) ออกแบบสำหรับการดำเนิน ...
    • การศึกษาขนาดและผลกระทบทางการคลังของการครอบครองยาเกินจำเป็นและการแก้ปัญหาเชิงนโยบาย 

      ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ปิยะรัตน์ นิ่มพิทักษ์พงศ์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)
      ปัญหาค่าใช้จ่ายด้านยาที่สูงขึ้นเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอันหนึ่งของประเทศไทย การครอบครองยาเกินจำเป็นเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านยาสูงขึ้นโดยไม่จำเป็น จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษานี้ขึ้นเพื่อ ...