Now showing items 1-4 of 4

    • การทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศในการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และบทเรียนสำหรับประเทศไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; วรรณภา บำรุงเขต (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-02)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศที่พัฒนาแล้วและของประเทศไทย ตลอดจนวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดแข็งจุดอ่อนเพื่อสังเคราะห์เป็นข้อเสนอสำหรับการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของไทยโดยอ ...
    • การประเมินการให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินร่วมสามกองทุน ภายใต้นโยบาย เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ยาใจ อภิบุญโยภาส; สิรินาฏ นิภาพร; อรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล; วรรณภา บำรุงเขต; สุธีรดา ฉิมน้อย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555)
      รายงานนี้ได้ค้นพบหลักฐานในเบื้องต้น โดยมีสาระสำคัญดังนี้ 1. เป้าประสงค์เชิงนโยบาย ประชาชนทุกสิทธิเข้าถึงบริการโรงพยาบาลเอกชนนอกระบบเบิกจ่ายเดิมของสามกองทุนประกันสุขภาพ เมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉินเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 6 ...
    • การรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนรูปแบบการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับพื้นที่ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; อังสุมาลี ผลภาค; อาณัติ วรรณศรี; วรรณภา บำรุงเขต; Paiboon Suriyawongpaisarn; Samrit Srithamrongsawat; Pintusorn Hempisut; Boonyawee Aueasiriwon; Aungsumalee Pholpark; Arnat Wannasri; Wannapha Bamrungkhet (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-06-01)
      รายงานนี้มุ่งหมายรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินของกลไกหลักในพื้นที่ที่มีสมรรถนะการดำเนินงานที่ดี เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนวทางการดำเนินงานของกลไกหลักในระดับจังหวัดและท้องถิ่น เพื่อเพิ่มสมรรถนะการดำเ ...
    • การวิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการระบบสาธารณสุขในระดับพื้นที่ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วินัย ลีสมิทธิ์; สงครามชัย ลีทองดี; วรรณภา บำรุงเขต; สุธีรดา ฉิมน้อย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2554-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบเขตสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับบริบทประเทศไทย โดยกำหนดวัตถุประสงค์เฉพาะไว้ 4 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดและความเข้าใจเรื่องเขตสุขภาพที่ถูกต้อง (2) หารูปแบบการอภิบาลระบบเขตสุขภาพ ...