Now showing items 1-20 of 203

    • 15 กรณีศึกษาว่าด้วยความทุกข์กับระบบบริการสุขภาพ 

      สารี อ๋องสมหวัง; Saree Aungsomwang; สุกรานต์ โรจนไพรวงศ์; อภิญญา ตันทวีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
    • กระบวนการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะที่ 1 : วิเคราะห์สถานการณ์ 

      ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์; Thorngwut Doungratanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาสถานการณ์และการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบคุณภาพ ทั้งนี้พื้นที่เพื่อการศึกษาเป็นแบบการคัดเลือกเฉพาะ (purposive ...
    • กระบวนทัศน์สุขภาพและนิเวศวิทยาแนวลึก 

      ณัฐฬส วังวิญญู; Natlos Wangwinyu (สถาบันขวัญเมือง, 2546)
      ในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา กระแสความคิดกระบวนทัศน์ใหม่ดูเหมือนจะได้รับการกล่าวถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ในสังคม โดยเฉพาะในแวดวงนักวิชาการ และในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ...
    • กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การศึกษาเรื่อง “กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไก กระบวนการร้องเรียน การช่วยเหลือเบื้องต้นประสิทธิภาพ ...
    • กองทุนและการจัดการสวัสดิการสุขภาพชุมชน : บทเรียนและทางเลือก 

      วัฒนา สุกัณศีล; Wattana Sukunsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      งานวิจัยนี้ศึกษารูปแบบ พัฒนาการและการบริหารจัดการของกองทุนและการจัดการด้านสุขภาพของชุมชน รวมทั้งวิเคราะห์ถึงเงื่อนไขและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสุขภาพของชุมชนในประเด็นสำคัญๆ หลายอย่างคือ พัฒนาการและการปรับเปล ...
    • การกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาการความเหลื่อมล้ำของการกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นปัญหาเรื้อรังของระบบบริการสุขภาพ ที่พบได้ในทุกพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมอยู่แล้ว โดยปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายแ ...
    • การกำหนดต้นทุนและการจัดสรรในบริบทของวิธีการเหมาจ่ายบริการสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล; Somchai Suksiriserekul (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุและประเมินวิธีการกำหนดต้นทุนบริการสุขภาพแบบเหมาจ่าย วิธีการจัดสรรงบประมาณ และการกำหนดตัวแปรที่มีผลต่อต้นทุนและการจัดสรรงบประมาณของต่างประเทศและของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ...
    • การคลังสุขภาพสำหรับระบบบริการสุขภาพพึงประสงค์ 

      ถาวร สกุลพาณิชย์; สมชัย จิตสุชน; อรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-01)
      การมีหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในปี 2545 ทำให้ประชาชนไทยเข้าถึงบริการสุขภาพเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบริการบางประเภทที่มีราคาแพง รวมทั้งมีแนวโน้มผลลัพธ์ด้านสุขภาพดีขึ้น ในขณะที่การขยายตัวของอุปทาน ได้แก่ จำนวนสถานพยาบาลและบุคลากรผ ...
    • การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพที่เหมาะสม 

      ยุพา วงศ์ไชย; สุพร กระจ่างพืช; ศศิชา ว.บาลิการ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพเป็นมาตรการหนึ่งในการสร้างความมั่นคงทางสังคมหลักใหญ่เป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคฯ ประเทศไทยมีกฎหมายกําหนดสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพหลายฉบับ รวมทั้งกําหนดกลไกให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ...
    • การจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค 

      ปิยะฉัตร ชื่นตระกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-09)
      ผลการศึกษาเรื่องการจัดกลไกการให้ข้อมูลของระบบหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับผู้บริโภค มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกและกระบวนการให้ข้อมูลขององค์กรในระบบหลักประกันสุขภาพ ตลอดจนศึกษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกลไกและกระบวนการ ...
    • การจัดการระบบวิจัยคลินิกแบบสหสถาบัน 

      สุธี รัตนะมงคลกุล; ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; ราม รังสินธุ์; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; สมรัตน์ จารุลักษณานันท์; วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล; สายบัว ชี้เจริญ; สุรพล เวียงนนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-12)
      การถอดบทเรียนครั้งนี้เป็นการทบทวนการศึกษาการทำงานภายใต้โครงการ พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 (Development of Network Management Systems in Multicenter Clinical Study : Phase III) ในปี พ.ศ. ...
    • การจัดชุดบริการสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมในนโยบายประกันสุขภาพถ้วนของประเทศไทย 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; ปิยะฉัตร พัชรานุฉัตร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      การจัดชุดบริการสุขภาพช่องปากที่เหมาะสมในนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ แนวคิดและประสบการณ์การจัดชุดสิทธิประโยชน์ทางสุขภาพช่องปากและเสนอแนะการจัดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมที่เหมา ...
    • การจัดบริการทันตสุขภาพภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      กุลยา รัตนปรีดากุล; Kulaya Rattanapreedakul; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; แพร จิตตินันทน์; วิชัย วิวัฒน์คุณูปการ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนวิถีชีวิตและความเชื่อของประชาชนส่งผลต่อทันตสุขภาพของประชาชนไทย วิถีชีวิตบางอย่างทำให้ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากมากขึ้น โดยเฉพาะการบริโภคน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้น ...
    • การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กแรกเกิด - 5 ปี และพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของเด็กภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ประคิณ สุจฉายา; Prakin Suchaxaya; ศรีมนา นิยมค้า; อมรรัตน์ งามสวย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ศึกษาการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับเด็กแรกเกิด-5 ปี และพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของเด็กภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ศึกษาโดยการใช้แบบวิจัยเชิงพรรณนา และการสัมภาษณ์เจาะลึก ...
    • การจัดระบบบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      อมร รอดคล้าย; Amorn Rodklai; สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; Suwat Wiriyapongsukit; สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwankit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      เหตุการณ์ก่อการร้าย 4 มกราคม 2547 โดยเริ่มจากการปล้นปืนค่ายทหารในจังหวัดนราธิวาส เป็นจุดเริ่มต้นของความรุนแรง เกิดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี ยะลา และบางอำเภอของจังหวัดสงขลา ความรุนแรงย ...
    • การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsri; วิฑูรย์ โล่ห์สุนทร; Vitool Lohsoonthorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รายงานการศึกษา การดูแลผู้ป่วยเบาหวานของหน่วยบริการปฐมภูมิ ศึกษาขอบเขต แนวทางการประเมินคุณภาพการดูแล ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการดูแล คุณภาพของการดูแล ทั้งสถานการณ์ในประเทศไทยและสถานการณ์ในต่างประเทศ อุปสรรคของการดูแล ...
    • การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเภสัชกรชุมชน (ความดันโลหิตสูงและวัณโรคปอด) 

      พยอม สุขเอนกนันท์; Phayom Sukanaknan; อุษาศิริ ศรีสกุล; วิลาสินี หิรัญพานิช; มนสา สุนารัตน์; Usasiri Srisakul; Wilasinee Hirunphanit; Monsa Sunarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง)โดยเภสัชกรชุมชน พบว่าการมีส่วนร่วมของเภสัชกรในการติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชนในประเทศไทย ยังไม่เป็นบทบาทที่ชัดเจนทั้งตัวเภสัชกรเองและวิชาชีพอื่น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่ ...
    • การทบทวนกระบวนทัศน์เรื่องความตายกับมิติแห่งสุขภาวะ 

      ธนา นิลชัยโกวิทย์; Tana Nilchaigowit; วริสรา กริชไกรวรรณ; วรรณา จารุสมบูรณ์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; Warisara Krikhaiwan; Wanna Jarusomboon; Pornlert Charkaeow (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      โครงการนี้เป็นหัวข้อหนึ่งของการศึกษาทบทวนกระบวนทัศน์สุขภาพซึ่งหยิบยกเอาประเด็นเรื่องความตายและการจัดการความตายขึ้นมาพิจารณา โดยคาดหวังว่าผลการศึกษานี้จะเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้คนในสังคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหันมาทบทวนแนวค ...
    • การทบทวนบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อเป็นองค์ความรู้ในการกำหนดกระบวนการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการทบทวนเอกสารเพื่อถอดบทเรียนจากประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ที่เกี่ยวกับการจัดทำแนวนโยบายและยุทธ์ศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ วิวัฒนาการและบริบท กระบวนการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ และการประเมินผลการปฏิรูป ...
    • การทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศในการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และบทเรียนสำหรับประเทศไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; วรรณภา บำรุงเขต (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-02)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศที่พัฒนาแล้วและของประเทศไทย ตลอดจนวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดแข็งจุดอ่อนเพื่อสังเคราะห์เป็นข้อเสนอสำหรับการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของไทยโดยอ ...