Now showing items 1-10 of 10

    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศในเอเชียประเทศแรกที่สามารถให้หลักประกันสุขภาพกับประชาชนได้อย่างทั่วหน้า และมีวิวัฒนาการมากว่า 70 ปี ระบบประกันสุขภาพของญี่ปุ่นนั้นเกิดขึ้นก่อนระบบประกันสังคม ทั้งนี้ในระยะแรกของการพัฒนานั้นเกิดขึ้ ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศสาธารณรัฐเกาหลี 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      เกาหลีเป็นประเทศหนึ่งในเอเชียที่มีระดับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจสูงและเป็นสมาชิกของประเทศกลุ่มความร่วมมือด้านการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ (OECD) โดยสามารถให้หลักประกันสุขภาพกับประชาชนได้อย่างทั่วหน้าภายในระยะเวลาอันสั้นเพียง 12 ปี ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศสาธารณรัฐเยอรมัน 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันเป็นประเทศแรกที่ประสบความสำเร็จในการจัดหลักประกันด้านสังคมและสุขภาพให้แก่ประชาชนด้วยระบบประกันสังคมหรือประกันภาคบังคับ ปรัชญาและหลักการพื้นฐานสำคัญของระบบการเมืองเยอรมันคือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดีย ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศอังกฤษ(ฉบับรวม) 

      ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์; Teerakiat Jareonsettasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ กรณีศึกษาประเทศอังกฤษวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อนำเสนอระบบสุขภาพของประเทศอังกฤษให้ละเอียดและเป็นที่เข้าใจได้ง่ายเพื่อนำเสนอกระบวนการและประเด็นที่สำคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพของอังกฤษเพื่อนำประเด็นต่างๆ ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศไต้หวัน 

      วิชิต เปานิล; Wichit Paonil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: กรณีศึกษาประเทศไต้หวันการศึกษานี้ทำขึ้นเพื่อนำเสนอพัฒนาการของระบบสุขภาพของไต้หวัน ทั้งในส่วนปัญหา และวิธีการแก้ไขโดยเฉพาะประเด็นการปฏิรูประบบสุขภาพ เพื่อใช้เป็นบทเรียนประกอบการพัฒนาระบบสุขภาพของไทย ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: ประสบการณ์จาก 10 ประเทศเป็นการสังเคราะห์บทเรียนการปฏิรูประบบสุขภาพของต่างประเทศจำนวน 10 ประเทศคือ ประเทศเยอรมนี อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีนไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย และสหรัฐอเมริกา ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : ระยะที่ 1 

      ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์; Teerakiat Jareonsettasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: กรณีศึกษาประเทศอังกฤษการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศอังกฤษอาศัยกลยุทธ์สองประการคือ การใช้ศาสตร์การบริหารจัดการ (Managerialism) NHS ให้มีประสิทธิภาพ และระบบการตลาดภายใน (Internal Market Mechanism) ตั้งแต่ปี ...
    • การเปรียบเทียบความเคลื่อนไหวการปฏิรูประบบสุขภาพของนานาประเทศ : กรณีศึกษาประเทศอินเดีย 

      นิลรัตน์ เปรมมณีสกุล; Nillarat Premmaneesakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพของนานาประเทศ: กรณีศึกษาประเทศอินเดีย อินเดียเป็นหนึ่งในประเทศกำลังพัฒนาที่ไม่ได้ทำการปฏิรูประบบสุขภาพ อย่างไรก็ตามอินเดียก็มีการดำเนินการพัฒนาระบบสุขภาพมาโดยตลอดนับแต่เมื่อได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1947 ...
    • รายงานการศึกษาประสบการณ์การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศออสเตรเลีย 

      จเร วิชาไทย; Charay Vichathai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Health Systems Reform in AustraliaIn Australia, equity of access to health care among the poor was a social and political concern since the country was in dependent from the UK. For the past, the reforming of national ...
    • วิสัยทัศน์และแนวทางในการปฏิรูประบบสาธารณสุขเพื่อผู้สูงอายุไทยในอนาคต มุมมองจากประชาคม องค์กร ชุมชนด้านผู้สูงอายุ 

      มูลนิธิพัฒนาผู้สูงอายุ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานภาพการดำเนินงานของเครือข่ายภาคีองค์กรชุมชน/เอกชนที่ทำงานด้านผู้สูงอายุ 2) บทบาท ศักยภาพ กลยุทธ์การดำเนินงานขององค์กรชุมชนเอกชน/ชุมชน ระดับรากฐานที่ทำงานด้านผู้สูงอายุ 3) แนวคิด ...