Now showing items 1-15 of 15

    • กระบวนทัศน์เกี่ยวกับสุขภาพและภูมิปัญญาพื้นบ้านเกี่ยวกับสุขภาพ : มุมมองจากทฤษฎีสังคม 

      ฉลาดชาย รมิตานนท์; Chalatchai Ramitanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      หนังสือเล่มนี้เป็นการรวบรวมและเรียบเรียงแนวความคิดทางทฤษฎีสังคมศาสตร์ที่อาจสามารถนำมาใช้เพื่อศึกษาทำความเข้าใจมิติทางด้านสุขภาพอนามัยของสังคมไทย โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการชี้ประเด็นเบื้องต้นบางประการที่อาจนำมาใช้ศึกษา ...
    • กลไกกำกับสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

      วงศา เลาหศิริวงศ์; Wongsa Laohasiriwong; วิไลวรรณ เทียนประชา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีคิด การให้คุณค่า และวิธีการปฏิบัติ ตลอดจนการก่อตัวของกลไกกำกับสุขภาพภาคประชาชนในกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัย 2 ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      ศรีประภา เพชรมีศรี; Sripharpa Phetmeesri; สุวดี แก้วอินทร์สรวล; รัตนา เลี้ยวสกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      รายงานผลการศึกษา เรื่อง กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ (ภาคใต้) เป็นผลการติดตามการเคลื่อนใหวของภาคประชาสังคมในฐานะที่เป็นทั้งผู้ที่จะได้รับประโยชน์ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความพยายามในการปฏิรูประบบสุข ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษากลไกสุขภาพภาคกลาง 2546 

      สุวจี กู๊ด; Suvajee Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยการศึกษากลไกสุขภาพภาคประชาชน กับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในเวทีสมัชชาสุขภาพในพื้นที่ระดับจังหวัดและระดับภาค เป็นอันดับหนึ่งที่ทําให้เห็นภาพกระบวนการที่น่าจะเป็นการก่อกําเนิด ...
    • กลไกสุขภาพภาคประชาชนกับกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพในภาคเหนือ 

      เพ็ญประภา ศิวิโรจน์; Penprapa Siwirod; พิกุล นันทชัยพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยเรื่องนี้มุ่งทำความเข้าใจถึงวิธีคิด วิธีปฏิบัติ และวิธีให้คุณค่าเกี่ยวกับการกลไกการขับเคลื่อนเรื่องสุขภาพและผลกระทบของกลไกการปฏิรูประบบสุขภาพที่ผ่านมา และที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันโดยการศึกษาการรับรู้ ...
    • การขับเคลื่อนขบวนการปฏิรูประบบสุขภาพด้วยกลไกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546 

      สุวจี กู๊ด; Suvajee Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาการขับเคลื่อนขบวนการปฏิรูประบบสุขภาพด้วยกลไกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2546 เป็นการบันทึกปรากฏการณ์ในการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในฐานะที่เป็นกลไกสำคัญในการเปลี่ยนแปลงบริบทของการมีส่วนร่วมในกระบวนการทางกฎหมายและ ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; Sauwakon Ratanawijitrasin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: ประสบการณ์จาก 10 ประเทศเป็นการสังเคราะห์บทเรียนการปฏิรูประบบสุขภาพของต่างประเทศจำนวน 10 ประเทศคือ ประเทศเยอรมนี อังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีนไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย และสหรัฐอเมริกา ...
    • การสังเคราะห์ความคิดเห็นและการรับรู้ของประชาชนต่อการปฏิรูประบบสุขภาพในเขตกทม. 

      สุวจี จันทร์ถนอม-กู๊ด; Suvajee Chanthanorm-Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การสํารวจความคิดเห็นและการรับรู้ของประชาชนต่อการปฏิรูประบบสุขภาพ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษากลไกสุขภาพประชาชนในภาคกลาง โดยใช้ข้อมูลการศึกษาเชิงปริมาณสําหรับประชาชนในเมืองกรุงเทพมหานคร เพื่อศึกษาแนวความคิด ความเข้าใจเรื่องสุ ...
    • การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสาธารณสุขภาพ 

      คทา บัณฑิตานุกูล; Katha Bunditanukul; เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; สุนทรี วัชรดำรงกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดของประชาคมเภสัชกรเครือข่ายหลักและสังเคราะห์เป็นวิสัยทัศน์ของระบบสุขภาพแห่งชาติที่ต้องการเพื่อสังเคราะห์ให้เห็นบทบาทของเภสัชกรในมิติใหม่ ...
    • ขับเคลื่อนวาระสุขภาวะไทย : ประชาสังคมกับการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2547)
      รายงานวิจัยฉบับนี้เป็นรายงานวิจัยหลักของแผนงานวิจัยประชาสังคมกับการปฏิรูประบบสุขภาพ ที่ได้ดำเนินการในระหว่างปี พ.ศ. 2545-2546 โดยมีเป้าหมายที่จะเก็บเกี่ยวบทเรียนการเคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมกับการขับเคลื่อนการปฏิรูปสุขภาพ ...
    • วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบสุขภาพประชาคมภาคอีสาน 

      บัญชร แก้วส่อง; Banchorn Kaewsong; พีระศักดิ์ ศรีฤาชา; อมร สุวรรณนิมิตร; สม นาสอ้าน; ธีรดา นามให (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1. เพื่อสังเคราะห์สภาพปัญหาของการพัฒนาสุขภาพในทัศนะของภาคประชาชน 2. เพื่อสังเคราะห์วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของการพัฒนาสุขภาพของภาคประชาชน 3. เพื่อสังเคราะห์และนำเสนอประเด็นสำคัญในการป ...
    • สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านนโยบาย, การบริหารและโครงสร้างองค์กรปกครองระดับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพในภาคเหนือตอนบน 

      ธเนศวร์ เจริญเมือง; Thanet Chareonmuang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      ด้วยสังคมไทยในอดีตเป็นสังคมที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์ ความรู้จากภูมิปัญญาที่สืบทอดต่อกันมา จากวันนั้นจนถึงปัจจุบันผ่านเวลาหลายทศวรรษพร้อมกับความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปัญหาสังคม ปัญหาคุณภาพชีวิต และปัญหาสุขภาพอนามัยของประชาชน ...
    • สถานการณ์สุขภาพท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมภาคเหนือ 

      เทพินทร์ พัชรานุรักษ์; Tepin Phacharanurak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาการเปลี่ยนแปลงของสังคมภาคเหนือเป็นไปอย่างรวดเร็ว การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การพัฒนาอุตสาหกรรมสินค้าพื้นบ้าน การบริการและการท่องเที่ยวได้ส่งผลให้สังคมภาคเหนือเร่งรีบพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการขยาย ...
    • สังคมภาคเหนือในยุคทักษิโณมิกส์และการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ 

      ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี; Pinkaew Lueangaramsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคชนบทที่เกิดขึ้นในรัฐบาลยุคของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ที่ได้ทุ่มเทเงินภาครัฐทั้งในและนอกงบประมาณแผ่นดินในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาแบบทวิวิถี (dual ...
    • อนาคตระบบยาของคนไทยในระบบสุขภาพแห่งชาติในอีก 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2546-2555) 

      คทา บัณฑิตานุกูล; Khata Banditanukul; สุนันทา โอศิริ; พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; ฉัตรวรัญ องคสิงห์; Sunantha Oosiri; Phacharaporn Phanyawutikhain; Chatwarun Ongkasing (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพอนาคตระบบยา โดยการใช้กระบวนการคาดการณ์อนาคต (Foresight) รวมถึงการนำเสนอยุทธศาสตร์เพื่อให้เกิดการพัฒนาและดำเนินการศึกษาวิจัยอย่างต่อเนื่องของระบบยา ที่ได้จากกระบวนการคาดการณ์อนาคต ...