เลือกตามผู้แต่ง "มโน มณีฉาย"
แสดงรายการ 1-8 จาก 8
-
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 : ระยะที่ 1 การประเมินสัญญาณเตือนของผลกระทบต่อสถานะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการศึกษาข้อมูลย้อนหลังและการจัดทำกรณีศึกษา
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; มโน มณีฉาย; Mano Maneechay; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; นิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล; Nittida Pattarateerakun; สุพัสตรา เสนสาย; Supustra Sensai; พัลลภ เซียวชัยสกุล; Pallop Siewchaisakul; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; อุทัยวรรณ แก้วพิจิตร; Uthaiwan Kaewpijit; บุญนริศ สายสุ่ม; Bunnaris Saisum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09-28)โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อค้นหาสัญญาณเตือนการเปลี่ยนแปลงเบื้องต้น (early warning sign) หรือปัจจัยเสี่ยงของการเกิดผลกระทบทางสุขภาพที่เชื่อมโยงจากการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.), (2) เพื่อศึกษาการเปล ...ป้ายกำกับ:รายการแนะนำ -
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนภายหลังการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระยะที่ 2 การประเมินสัญญาณเตือนของผลกระทบต่อสถานะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการศึกษาข้อมูลย้อนหลังและการจัดทำกรณีศึกษา
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; มโน มณีฉาย; Mano Maneechay; ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์; Jirayudh Sinthuphan; พัลลภ เซียวชัยสกุล; Pallop Siewchaisakul; นิตย์ธิดา ภัทรธีรกุล; Nittida Pattarateerakun; สุพัสตรา เสนสาย; Supustra Sensai; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-10-05)โครงการประเมินผลฯ ระยะที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเมินผลกระทบทางสุขภาพที่มีต่อประชาชน อันอาจเป็นผลเชื่อมโยงมาจากการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ในปีงบประมาณ 2566 ทั้งในส่วนของผลกระทบจากการให้บริการสุข ... -
การประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ จังหวัดตาก
ปราโมชย์ เลิศขามป้อม; มโน มณีฉาย; ธีระ วรธนารัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)การประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System) จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อประเมินความสอดคล้องและเหมาะสมด้านบริบท (Context Evaluation) ประเมินความเหมาะสมและเพียงพอด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input ... -
การวิจัยประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ จังหวัดตาก ปีงบประมาณ 2557
ปราโมชย์ เลิศขามป้อม; มโน มณีฉาย; ธีระ วรธนารัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)การประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ( District Health System)จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อประเมินความสอดคล้องและเหมาะสมด้านบริบท (Context Evaluation) ประเมินความเหมาะสมและเพียงพอด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input ... -
การวิจัยเชิงสังเคราะห์เพื่อพัฒนาระบบการวัด วิเคราะห์ ทบทวนและปรับปรุงผลการดำเนินการของระบบการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิและการบริบาลเพื่อคุณภาพชีวิตระยะท้ายในประเทศไทย
จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; Sureerat Ngamkiatphaisan; มโน มณีฉาย; Mano Maneechay; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; Pavika Sriratanaban; ภรเอก มนัสวานิช; Bhorn-ake Manasvanich; พรทิพย์ ปรีชาไชยวิทย์; Porntip Preechachaiyawit; ฬุฬีญา โอชารส; Luleeya O-charot; นิติ อารมณ์ชื่น; Niti Aromchuen; เสกสรร ไข่เจริญ; Seksan Khaicharoen; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; วรากร วิมุตติไชย; Varakorn Wimuttichai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03-15)โครงการวิจัยเชิงสังเคราะห์เพื่อพัฒนาระบบการวัด วิเคราะห์ ทบทวนและปรับปรุงผลการดำเนินการของระบบการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิและการบริบาลเพื่อคุณภาพชีวิตระยะท้ายในประเทศไทย ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ... -
การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการระบบสุขภาพระดับตำบล ภายใต้แผนการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; มโน มณีฉาย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของการจัดการระบบสุขภาพระดับตำบลในประเทศไทย 2. เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานที่มีหน้าที่จัดการระบบสุขภาพระดับตำบล 3. ความสัมพันธ์เชิงอำนาจและความรับผิดชอบในการดำเนินก ... -
คำถามการวิจัยเพื่อพัฒนาการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในประเทศไทย
จรวยพร ศรีศศลักษณ์; มโน มณีฉาย; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Jaruayporn Srisasalux; Mano Maneechay; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ระบุให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่นเอง แต่ที่ผ่านมากลับไม่มีความก้าวหน้าที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม ที่สำคัญคือยังขาดการสังเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นต่ ... -
รูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ในเขตบริการสุขภาพที่ 3
บงกฎ พัฒนา; มโน มณีฉาย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในเขตบริการที่ 3 โดยมีกระบวนการดำเนินงานพัฒนา ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การดำเนินงานส่งเส ...