เลือกตามผู้แต่ง "วิโรจน์ ณ ระนอง"
แสดงรายการ 1-18 จาก 18
-
การติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีที่หนึ่ง (2544-45)
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ศรชัย เตรียมวรกุล; นิภา ศรีอนันต์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานนี้สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะจากโครงการติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปีที่หนึ่ง (2544-45) ซึ่งประกอบด้วยการศึกษาในสี่ด้าน คือ สวัสดิการข้าราชการและครอบครัว โครงการประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน ... -
การติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานฉบับนี้เป็นผลจากการติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 - มิถุนายน พ.ศ. 2545 ซึ่งตามกรอบการศึกษา จะให้ความสำคัญกับกลไก (mechanism) และกระบวนการ (process) ในการดำเนินการ ... -
การติดตามประเมินผลโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค จังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก นครราชสีมา ศรีสะเกษ ปทุมธานี สระบุรี ภูเก็ต และภาพรวมการข้ามเขตกับ คุณภาพบริการของ 21 จังหวัดนำร่อง ปี 2544-2545 (ครึ่งปี)
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)การศึกษาและติดตามโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค จังหวัดเชียงใหม่ พิษณุโลก นครราชสีมา ศรีสะเกษ ปทุมธานี สระบุรี ภูเก็ตและภาพรวมการข้ามเขตกับคุณภาพบริการของ 21 จังหวัดนำร่อง ปี 2544 - 2545 (ครึ่งปี) ... -
การวัดภาวะวิกฤตการเงินด้านสุขภาพ จากผลกระทบต่อความยากจน
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; อรรถกฤต เล็กศิวิไล; Attakrit Leckcivilize (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)งานวิจัยเกี่ยวกับภาวะวิกฤตทางการเงินด้านสุขภาพหลายชิ้นในระยะหลังใช้สัดส่วนรายจ่ายด้านสุขภาพต่อรายรับหรือรายจ่ายรวมของครัวเรือนเป็นตัวชี้วัดภาวะวิกฤตการเงินด้านสุขภาพของครัวเรือนซึ่งบางครั้งได้ผลลัพธ์ที่ขัดกับสามัญสำนึก ... -
การวิเคราะห์กิจกรรมการให้บริการ และสถานการณ์ทางการเงินของสถานพยาบาลภายใต้ โครงการหลักประกันสุขภาพ ช่วงเดือนตุลาคม 2544-มีนาคม 2545
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ศรชัย เตรียมวรกุล; นิภา ศรีอนันต์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)จากการปฏิรูประบบการคลังภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค ครบทั้งประเทศ ในปีงบประมาณ 2545 ได้ส่งผลกระทบต่อสถานะการเงินและพฤติกรรมการให้บริการของสถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อให้ได้ภาพที่แสดงให้ ... -
การหมุนเวียนของบุคลากรที่ให้บริการในสถานพยาบาลภาครัฐ : รายงานวิจัย เล่มที่ 5
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการหมุนเวียนของบุคลากรในระบบบริการโดยเน้นในส่วนของภาครัฐบาลรวมทั้งประเด็นเรื่องการลาออกจากราชการของแพทย์ การศึกษาครอบคลุมบุคลากรสี่กลุ่มคือ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ... -
การแพทย์แผนไทยในอาเซียน: โอกาสและผลกระทบ
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj NaRanong (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2557-09-05)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี -
ความคาดหวัง การใช้บริการด้านสุขภาพ และผลกระทบของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : มุมมองของประชาชน : รายงานวิจัยเล่มที่3
อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบในระยะแรกของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (และโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค”) ที่มีต่อประชาชน จากมุมมองของประชาชนเอง โดยคำนึงถึงพฤติกรรมการเลือกวิธีรักษาพยาบาลและการเลือก ... -
ดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ
วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)วัตถุประสงค์หลักของรายงานนี้คือ พยายามวิเคราะห์ถึงแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมด้านสุขภาพ และดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพยายามลงไปถึงด้านปรัชญา แนวคิด การตีความและข้อจำกัดของดัชนีเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนีที่ม ... -
ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน
อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)การศึกษานี้เป็นการวัดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน และการลดความยากจน โดยการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความยากจน ได้ใช้วิธีวัดความยากจนของครัวเรือนไทยตา ... -
ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ 30 บาทฯ ที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน : รายงานวิจัยเล่มที่2
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา; Anchana Na Ranong; Sasiwut Vongmontha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่องผลกระทบในระยะแรกของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค” ที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน โดยเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยา ... -
ระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนของโครงการประกันสุขภาพต่างๆ : รายงานวิจัย เล่มที่ 4
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; นิภา ศรีอนันต์; Anchana Na Ranong; Nipa Srianant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนของโครงการประกันสุขภาพที่สำคัญๆ ในประเทศไทย รวมทั้งการพัฒนามาตรการและกลไกการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ผลการศึกษาพบว่ามีหลายโครงการประกันสุขภาพ ... -
วิวาทะของสองปรัชญาเบื้องหลังโครงการ 30 บาท
วิโรจน์ ณ ระนอง; อัญชนา ณ ระนอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08) -
วิเคราะห์การหาแหล่งเงินเพิ่มเติมสำหรับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์; Worawan Chanduaiywit; วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; Maslove, Allan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)ระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทยได้ผ่านการปฏิรูปครั้งสำคัญในปี 2544 เมื่อเริ่มมีการดำเนินการโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือรู้จักกันดีในนามของ “โครงการ 30 บาท” ในฐานะที่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าถือได้ว่าเป็น entitlement ... -
สิทธิประโยชน์ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; นิภา ศรีอนันต์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)รายงานฉบับนี้พยายามประเมินสถานการณ์และปัญหาในการกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ของโครงการประกันสุขภาพต่างๆ ของภาครัฐที่มีอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบัน และให้ข้อเสนอแนะแนวทางการกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ... -
หนึ่งปีแรกของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiamworakul (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2547)รายงานวิจัยฉบับนี้เป็นการติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศในภาพรวม โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2544 - มิถุนายน 2545 รายงานฉบับนี้แบ่งออกเป็น 9 ตอน ตอนที่ 1 คือ บทนำ ตอนที่ 2 กล่าวถึงแนวคิดคว ... -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2545-2546 : รายงานวิจัยเล่มที่1
วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiarmworakul; Sasiwut Vongmontha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระหว่างปี 2544-2547 ซึ่งเป็นการสรุปการดำเนินงานของโครงการที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันสุขภาพของภาครัฐที่สำคัญ 4 โครงการคือ โครงการสวัสดิการข้ ... -
แนวทางและทางเลือกในการสร้างตัวแบบสำหรับการวิเคราะห์ผลประโยชน์ที่ประชาชนได้รับ (Benefit Incidence Analysis) จากเงินอุดหนุนของภาครัฐในโครงการหลักประกันสุขภาพ
วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; อรรถกฤต เล็กศิวิไล; Anchana Na Ranong; Anthakrit Leksiwilai; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การวัดผลประโยชนที่ประชาชนกลุ่มต่างๆ (เช่น ตามเศรษฐานะต่างๆ) ได้รับจากโครงการของภาครัฐ (benefit incidence) เป็นเครื่องมือหนึ่งทางเศรษฐศาสตร์การคลัง (Public Finance หรือในปัจจุบันมักเรียกว่าเศรษฐศาสตร์ภาครัฐหรือ Economics ...