เลือกตามผู้แต่ง "อัมพิกา มังคละพฤกษ์"
แสดงรายการ 1-7 จาก 7
-
การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน
ทิพวรรณ ประภามณฑล; Thiphawan Phaphamonthon; พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; สมศรี ปัทมพันธุ์; อำนาจ มีเวที; Pongtap Vivantanadej; Amphika Mangkalaprik; Somsri Phatamaphan; Amnat Meevattee (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547)การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการวิจัยให้ได้ข้อมูลนำไปกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรที่ใช้ส ... -
การศึกษาปัจจัยเสี่ยงช่วงตั้งครรภ์และช่วงขวบปีแรก กับการเกิดเมตาบอลิกซินโดรมและโรคหลอดเลือด เมื่ออายุ 30 ปี
กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem; ปิยะมิตร ศรีธรา; Piyamitr Sritara; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; Ampica Mangklabruks; ศักดา พรึงลำภู; Sakda Pruenglampoo; อมราภรณ์ ฤกษ์เกษม; Amaraporn Rerkasem; กรองพร องค์ประเสริฐ; Krongporn Ongprasert; สุชยา ลือวรรณ; Suchaya Luewan; กนกวรรณ กุลประชากานต์; Kanokwan Kulprachakarn; วสันต์ ภาคลักษณ์; Wason Parklak; ศศิณัฏฐ์ พงษ์ธรรม; Sasinat Pongtam (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุตรที่มีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกับกลุ่มอาการเมตาบอลิกซินโดรมของบุตรที่ได้ศึกษาน้ำหนักแรกเกิดเมื่อ 30 ปีที่แล้ว ทั้งนี้ยังทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่า ... -
ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี
ประเสริฐ บุญเกิด; Prasert Boongird; สมศักดิ์ ลัพธิกุลธรรม; Somsak Laptikultham; พนิดา กฤตยภูษิตพจน์; วรรณี นิธิยานันท์; Wannee Nitiyanant; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; Chaicharn Deerochanawong; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; Ampica Mangklabruks; วัลยา จงเจริญประเสริฐ; Wallaya Jongjaroenprasert; สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ; Surasak Kantachuvessiri; อติพร อิงค์สาธิต; Atiporn Ingsathit; วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี; ชนิดา ปโชติการ; Chanida Pachotikarn; วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; ปริญญา ชำนาญ; Parinya Chamnan; วีระ มหาวนากูล; อาคม อารยาวิชานนท์; Arkom Arayawichanont; พรรณประพร โคนพันธ์; พิเชฐ หล่อวินิจนันท์; Pichet Lorwinitnan; คมสัน พิริยะกิจไพบูลย์; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02)โครงการนี้เป็นการศึกษาวิจัยแบบทดลอง มีกลุ่มเปรียบเทียบและสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Randomized Control Trial) เพื่อศึกษาดูผลของการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต (พฤติกรรมสุขภาพ 4 พฤติกรรม ที่ 4 ระดับของกิจกรรมคือ ระดับบุคคล ระดับครัวเรือน ... -
ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี โครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2
ประเสริฐ บุญเกิด; สมศักดิ์ ลัพธิกุลธรรม; พนิดา กฤตยภูษิตพจน์; วรรณี นิธิยานันท์; ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; วัลยา จงเจริญประเสริฐ; สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ; อติพร อิงค์สาธิต; วรวรรณ ชัยลิมปมนตรี; ชนิดา ปโชติการ; วิชัย เอกพลากร; ปริญญา ชำนาญ; วีระ มหาวนากูล; อาคม อารยาวิชานนท์; พรรณประพร โคนพันธ์; พิเชฐ หล่อวินิจนันท์; คมสัน พิริยะกิจไพบูลย์; วิน เตชะเคหะกิจ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)รายงานผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี เป็นโครงการต่อเนื่อง ปีที่ 2 มีโครงการวิจัยย่อยภายใต้แผนงานวิจัย 2 โครงการ คือ ... -
ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย
กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายมีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีความประสงค์เพื่อค้นหาสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงในการติดตามผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นเวลา ... -
ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (ต่อเนื่องปีที่ 2)
กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10)จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีคว ... -
ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ต่อเนื่องปีที่ 3
กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; ปิยะมิตร ศรีธรา; ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์; อรินทยา พรหมินธิกุล; กิเริ่น โซนี่; ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์; นิมิตร อินปั๋นแก้ว; อันธิกา วงศ์ธานี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)จุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในอดีตพบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน หรือโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (peripheral artery disease-PAD) มีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ...