• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การดูแลสุขภาพ"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 26

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การดูแลสุขภาพด้วยหลักธรรมชาติบำบัดและภูมิปัญญาไทย อำเภอน้ำพอง 

      วิชัย อัศวภาคย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-18)
    • การดูแลสุขภาพองค์รวมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ 

      ทวีศักดิ์ นพเกษร (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-02)
    • การพัฒนาศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชน 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; จีรพร แผ้วกิ่ง; อัจฉรา วัฒนาภา; ศุภลัคน์ เลิศมโนรัตน์; ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1. เพื่อวิเคราะห์และทบทวนสถานการณ์การดูแลสุขภาพตนเอง ของปัจเจก ครอบครัว และชุมชน ทั้งในและต่างประเทศ 2. เพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในระดับต่างๆ ...
    • การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่าง ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ 

      วณิชา ชื่นกองแก้ว; Wanicha Chuenkongkaew; อภิสิทธิ์ ธำรงวรางกูร; Apisit Thamrongwaranggoon; วิชัย อัศวภาคย์; Wichai Ussavaphark; ดุสิตา กระวานชิด; Dusita Krawanchid; มนัสชนน์ คุณาพรสุจริต; Manuschon Kunapornsujarit; ธนวันต์ กัญญภัส; Tanawan Kanyapas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่าง ภาคชุมชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสม ระหว่างภาคชุมชน ...
    • การพัฒนาแนวทางและรูปแบบความร่วมมือที่เหมาะสมระหว่างภาคชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชนในการบริหารจัดการและการดูแลสุขภาพระดับปฐมภูมิ 

      วณิชา ชื่นกองแก้ว; Wanicha Chuenkongkaew; อภิสิทธิ์ ธำรงวรางกูร; Apisit Thamrongwaranggoon; วิชัย อัศวภาคย์; Wichai Ussavaphark; ดุสิตา กระวานชิด; Dusita Krawanchid; มนัสชนน์ คุณาพรสุจริต; Manuschon Kunapornsujarit; ธนวันต์ กัญญภัส; Tanawan Kanyapas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเจตคติของบุคลากรสาธารณสุขต่อความร่วมมือและรูปแบบการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาแนวทางความร่วมมือที่เหมาะสมระหว่างชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชนในการบริหารจัดการสุขภาพระดับปฐมภูมิ โดยเป็นการวิจั ...
    • การพัฒนาแนวปฏิบัติในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ 

      มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สถาบันวิจัยระบบการดูแลผู้สูงอายุไทย คณะพยาบาลศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ที่อาศัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยมีกระบวนการวิจัย 2 ระยะ คือ ระยะพัฒนาแนวปฏิบัติ และระยะประเมินผล ผู้เข้าร่วมการวิจัยมี 3 กลุ่ม ได้แก่ ...
    • การรับรู้และการเข้าถึงสื่อสาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย 

      ปรีชา อุปโยคิน; Phrecha Uphayokin; อภิสม อินทรลาวัณย์; ทรงสรรค์ อุดมศิลป์; รักชนก เจนวรากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบสถานการณ์การรับรู้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพของประชาชนในจังหวัดเชียงราย โดยการศึกษาในพื้นที่ อำเภอเมือง แม่จัน แม่สาย เชียงแสน เวียงชัย เทิง ป่าแดด และพาน การศึกษาครั้งนี้กลุ่มเป้าหมายมี ...
    • การสำรวจความแตกฉานด้านสุขภาพ (Health literacy) ในกลุ่มประชากรตัวอย่าง สำหรับใช้วิเคราะห์ Psychometric เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 

      มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. ศูนย์วิจัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      “Health Literacy” หมายถึง ความสามารถในการค้นหาหรือเข้าถึง สร้างความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ ในประเทศไทยมีการแปลคำนี้ไว้ต่างกันไป เช่น “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าทันด้านสุขภาพ” หรือ “ความฉลาดทางสุขภาวะ” ...
    • ความสำเร็จของการดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 

      นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางของผู้ป่วยสามกลุ่มโรค ได้แก่ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง การบาดเจ็บของสมอง และการบาดเจ็บที่ไขสันหลังตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขและ ...
    • ความไม่แน่นอนต่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงหรือความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพหรือการบริหารจัดการระบบ 

      นำชัย ชีววิวรรธน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 

      นิภาพร ศรีณรงค์สุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542-11)
      - เปิดเวทีขยายความ ประชาคม ทำไมจึงเป็นขุมพลังนำสู่สังคมสุขภาพดี – ชุดโครงการวิจัยต่างด้าวในไทย ชี้ช่องโหว่นโยบาย ฉายชะตากรรมเศร้า – เปิดเว็บสุขภาพ www.healthnet.in.th – รักษาสุขภาพดีกว่ารักษาโรค – เก็บตกจาก Hospital ...
    • ประเมินนโยบายการดูแลสุขภาพระยะกลางของกระทรวงสาธารณสุข: การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 

      ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; กฤติกา โคตรทอง; Krittika Khotthong; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการสุขภาพที่ดูแลสุขภาพระยะกลางในผู้ป่วย 3 กลุ่มโรคได้แก่โรคหลอดเลือดสมอง สมองบาดเจ็บและไขสันหลังบาดเจ็บ จำนวน ...
    • ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย 

      เพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล; Petsunee Thungjaroenkul; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Tuangtip Theerawit; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tungcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพระหว่างพยาบาลประจำการกับพยาบาลวิชาชีพที่ไม่เป็นพยาบาลประจำการ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากโครงการวิจัย: สุขภาพและชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย ...
    • ผู้สูงอายุและผู้ดูแล: ความเปราะบางของสังคมผู้สูงอายุภายใต้การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมไทย 

      ศิราณี ศรีหาภาค (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)
      เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย เข้าใจคนขาด-ขาดคนเข้าใจ ...
    • พยาบาลเวชปฏิบัติกับการพัฒนาบริการปฐมภูมิ 

      สมจิต หนุเจริญกุล (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-02)
    • พัฒนาแนวทางและรูปแบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเชิงรุก 

      พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ; Pisit Piriyapun (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • ระบบกายภาพบำบัดของคนไทยในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2548-2557) 

      พรพิมล จันทรวิโรจน์; Pornphimon Chantrawirot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ศักยภาพทางกายเป็นองค์ประกอบสําคัญที่ทำให้เกิดสุขภาวะทางกาย จิต สังคม และปัญญา การบกพร่องของศักยภาพทางกายจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมหาศาล วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาว่า “ระบบกายภาพบำบัดจะเติมเต็มศักย ...
    • รูปแบบการดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในระยะยาวโดยชุมชน 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ; Kwanjai Amnatsatsue (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • สร้างกาย-ใจให้แข็งแรง : คู่มือดูแลตนเองของผู้สูงวัยพร้อมข้อมูลสิทธิประโยชน์และสวัสดิการที่ควรรู้ 

      บรรลุ ศิริพานิช (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2553-06)
      ในช่วง 20 ปีก่อนปัญหาเรื่องผู้สูงวัยยังไม่เด่นชัด บ้านเรามีผู้สูงอายุก็จริงแต่ยังไม่มาก เราจึงไม่เห็นความสำคัญของการเตรียมพร้อมเข้าสู่วัยนี้เท่าไรนัก กระทั่งปัจจุบันประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย (ประชากรอายุเดินกว่า 60 ...
    • อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 

      ศักดา ทองดีเพ็ง; Sakda Tongdeepeng; พนิดา ประทุมวัน; Panida Pratumwan; ปิยะวัฒน์ หนูกลัด; Piyawat Hnuklud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 และจัดลำดับโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญในเขตสุขภาพที่ 3 เป็นวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรทาโร่ยามาเน่ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1290]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [232]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV