• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การทดลองในมนุษย์"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-15 จาก 15

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • กฏนูเรมเบิร์ก 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)
      กฏนูเรมเบิร์กเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง โดยเป็นกฎเกณฑ์ที่เขียนขึ้นเพื่อป้องกันมิให้มีการละเมิดจริยธรรม เช่นที่เกิดขึ้นในกองทัพนาซี กฎดังกล่าวเขียนขึ้นขณะที่ทั่วโลกเฝ้า ...
    • การพัฒนาการกำกับดูแลข้อมูลและการติดตามความปลอดภัยโครงการวิจัยคลินิกของฟ้าทะลายโจรในผู้ป่วยโควิด-19 

      จันทรา กาบวัง เหล่าถาวร; Juntra Laothavorn; ธนา ขอเจริญพร; Thana Khawcharoenporn; ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล; Tippawan Liabsuetrakul; รัตนวดี ณ นคร; Ratanavadee Na Nagara; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      การขึ้นทะเบียนยาสมุนไพรเพื่อใช้ทางการแพทย์จำเป็นต้องมีสรรพคุณเฉพาะ (Specific Health Claim) หรือข้อบ่งใช้ (Clinical Indication) โดยมีหลักฐานผลการวิจัยทางคลินิกที่เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล โดยมีการออกแบบการวิจัยในการพิสู ...
    • การพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน (layperson) ระยะที่ 2 

      จันทรา เหล่าถาวร; Juntra Laothavorn; วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-01)
      คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน คือบุคคลธรรมดาทั่วไป ที่โดยพื้นฐานการศึกษาจะไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะทางด้านการแพทย์และการวิจัย เป็นผู้ที่สามารถสะท้อนมุมมองของคนทั่วไปในสังคม แต่ปัญหาหนึ่งในการ ...
    • การศึกษาสถานะการขึ้นทะเบียนยาสามัญใหม่และศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายด้านยาหลังจากได้รับการอนุมัติการศึกษาชีวสมมูลโดยสำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; ศลิษา ฤทธิมโนมัย; Salisa Rittimanomai; วริษฐา หวังบรรจงกุล; Waritta Wangbanjongkun; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-19)
      การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence Studies) ในมนุษย์เป็นการทดสอบความเท่าเทียมกันระหว่าง ยาสามัญและยาอ้างอิงในด้านอัตราและปริมาณของ Active Pharmaceutical Ingredient (API) ในบริเวณที่ต้องการให้เกิดฤทธิ์ของยา การศึกษาเช่นนี้ท ...
    • การสำรวจและประเมินผลการดำเนินการทบทวนด้านจริยธรรม ภาคเสริมของแนวทางการดำเนินการสำหรับคะแนนกรรมการด้านจริยธรรมผู้มีหน้าที่ทบทวนพิจารณาการศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์ 

      สำนักงานโครงการพิเศษเพื่อการศึกษาวิจัย และฝึกอบรมทางเวชศาสตร์เขตร้อน องค์การอนามัยโลก (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      จุดมุ่งหมายของแนวทางฯ นี้เพื่อช่วยสร้างกรอบสากลในการสำรวจและประเมินการดำเนินการทบทวนด้านจริยธรรม การทบทวนด้านจริยธรรมช่วยให้ข้อชี้แนะที่จำเป็นแก่โครงร่างการวิจัย และช่วยให้เกิดความมั่นใจในการคุ้มครองอาสาสมัครและชุมชนจำเป ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Lay person) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Layperson) 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat; จันทรา เหล่าถาวร; Jantra Laothavorn; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พรรณทิพา ว่องไว; Phanthipha Wongwai; สุพัตรา ปรศุพัฒนา; Supatra Porasuphatana; ประทุม สร้อยวงค์; Pratum Soivong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566)
      หนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ ...
    • ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      เป้าหมายของการวิจัย คือ การสร้างความรู้ใหม่ หลักการของการวิจัย คือ จะต้องดำเนินการตามกฎเกณฑ์และวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการทุกขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ ผลผลิตที่สำคัญของการวิจัย คือ ข้อมูล (Data) ที่เชื่อถือได้ คำว่า ...
    • จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (2) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      หลังจากหนังสือ "จริยธรรมการวิจัยในนุษย์" เล่มแรกตีพิมพ์เผยแพร่เมื่อเดือนสิงหาคม 2560 ผู้เขียนได้แปลเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์อีก 3 ฉบับ ได้แก่ 1) แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับส ...
    • จริยธรรมและการอภิบาลปัญญาประดิษฐ์เพื่อสุขภาพ คำแนะนำขององค์การอนามัยโลก 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      เอกสารคำแนะนำฉบับนี้ ร่วมกันจัดทำโดยหน่วยจริยธรรมและการอภิบาลสุขภาพขององค์การอนามัยโลกในแผนกวิจัยสุขภาพ และแผนกสุขภาพและนวัตกรรมดิจิทัล โดยมีพื้นฐานจากความเห็นร่วมกันของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญขององค์การอนามัยโลกด้านจริยธรรม ...
    • ต้นแบบเพื่อจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 : พ.ศ. 2563 

      กระทรวงสาธารณสุข. สำนักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาล และการสนับสนุนงานวิจัยทางคลินิกของกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเกี่ยวกับมนุษย์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพในระดั ...
    • ประสิทธิศักย์และความปลอดภัยของสารสกัดฟ้าทะลายโจร เทียบกับการรักษามาตรฐานในการป้องกันการเกิดปอดอักเสบ ในผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย : การทดลองแบบสุ่ม มีกลุ่มควบคุมและหลายสถานที่วิจัย 

      ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; สิรภัทร ตุลาธรรมกิจ; Sirapat Tulatamakit; มยุรี ตั้งเกียรติกำจาย; Mayuree Tangkiatkumjai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; ภาณุพงศ์ ตันติรัตน์; Panupong Tantirat; คุณสิริ เสริมศิริโภคา; Khunsiri Sermsiripoca; กุลธนิต วนรัตน์; Kulthanit Wanaratna; ดวงกมล นุตราวงค์; Duangkamol Nutrawong; เจตน์ วันแต่ง; Jate Wantang; ชวัลวลัย เมฆสวัสดิชัย; Chavanvalai Meksawasdichai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การดูแลรักษาโรคผู้ป่วยโควิค-19 มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากมีความจำกัดของทรัพยากรและความรู้ ในช่วงแรกของการระบาด หนึ่งในทางเลือกของกระบวนการรักษาผู้ป่วย คือ ความพยายามรักษาอาการและลดจำนวนเชื้อ เพื่อไม่ให้เกิดความรุ ...
    • หลักเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (จีซีพี) สำหรับการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรม คำแนะนำภาคสนาม 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      องค์การอนามัยโลกได้เผยแพร่หลักเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (WHO GCP Guidelines) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ปีต่อมาที่ประชุมบรรสานสากล (International Conference on Harmonization: ICH) ได้ออกเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH GCP ...
    • เอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับโควิด-19 สำหรับภาคอุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่สำนักงานอาหารและยาและภาคีอื่นๆ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เมื่อเกิดการระบาดของโควิด-19 ตั้งแต่วันสิ้นปี พ.ศ. 2562 และแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางจนองค์การอนามัยโลกได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 ทำให้เกิดผลต่อการวิจัยในมนุษย์ โดยเฉพาะการ ...
    • แนวทางการดำเนินการสำหรับคณะกรรมการด้านจริยธรรมผู้มีหน้าที่ทบทวนพิจารณาการศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; ThaiHealth Global Link Initiative Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      แนวทางฉบับนี้ได้รับการเสนอแนะจากองค์การอนามัยโลก และสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ให้เป็นเครื่องมือในการปรับปรุงองค์การ คุณภาพ และมาตรฐานของการทบทวนพิจารณาด้านจริยธรรมทั่วโลก แนวทางฉบับนี้คำนึงถึงสิ่งที่ปฏิบัติอย ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV