• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การพยาบาลฉุกเฉิน"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-20 จาก 24

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 2: 1 ปี รักษาฉุกเฉิน มาตรฐานเดียว 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05)
      HSRI FORUM ฉบับนี้ มีสาระความรู้ในแวดวงระบบสุขภาพ มาฝากเช่นเคย โดยฉบับนี้ได้ถือเอาวาระครบรอบ 1 ปีของการประกาศนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” มาเป็นประเด็นของการนำเสนอนโยบายนี้นับเป็นก ...
    • การคาดการณ์ความต้องการและการวางแผนกำลังคนสำหรับระบบบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; พุดตาน พันธุเณร; เสกสรรค์ มานวิโรจน์; อติพันธ์ สุวัฒน์เมฆินทร์; อุ่นใจ เครือสถิตย์; ประวีณ นราเมธกุล; วัลภา ภาวะดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การเปลี่ยนแปลงบริบทของประเทศและนโยบายต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อกำลังคนของระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านประชากรและระบาดวิทยา ส่งผลให้การเจ็บป่วยด้านอุบัติเหตุและฉุกเฉินเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง ...
    • การทบทวนการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินต่างประเทศ ภายใต้โครงการ การทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศในการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency Medical Services) 

      สาฬวุฒิ เหราบัตย์; ทนงสรรค์ เทียนถาวร; สุธี อินทรชาติ; พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์; ประสิทธิ วุฒิสุทธิเมธาวี (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556)
      รายงานการทบทวนการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศไทย และต่างประเทศ ได้แก่ อเมริกา แคนาดา อังกฤษ เยอรมัน ประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ไต้หวัน ฮ่องกง ออสเตรเลีย
    • การทบทวนประสบการณ์ต่างประเทศในการพัฒนาระบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และบทเรียนสำหรับประเทศไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; วรรณภา บำรุงเขต (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2556-02)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของประเทศที่พัฒนาแล้วและของประเทศไทย ตลอดจนวิเคราะห์เปรียบเทียบจุดแข็งจุดอ่อนเพื่อสังเคราะห์เป็นข้อเสนอสำหรับการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินของไทยโดยอ ...
    • การบริหารจัดการระบบบริการทางการแพทย์กรณีฉุกเฉินตามนโยบายบริหารจัดการร่วมสามกองทุน 

      สิรินาฏ นิภาพร; อรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล; Thaworn Sakunphanit; ถาวร สกุลพาณิชย์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      การบริหารจัดการระบบบริการทางการแพทย์กรณีฉุกเฉินตามนโยบายบริหารจัดการร่วมสามกองทุน มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินนโยบายและมาตรการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตนกรณีอุบัติเหตุฉุกเฉินที่เข้ารับบริการโรงพยาบาลนอกระบบประกันสั ...
    • การประเมินการให้บริการผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินร่วมสามกองทุน ภายใต้นโยบาย เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ยาใจ อภิบุญโยภาส; สิรินาฏ นิภาพร; อรวรรณ ประสิทธิ์ศิริผล; วรรณภา บำรุงเขต; สุธีรดา ฉิมน้อย (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555)
      รายงานนี้ได้ค้นพบหลักฐานในเบื้องต้น โดยมีสาระสำคัญดังนี้ 1. เป้าประสงค์เชิงนโยบาย ประชาชนทุกสิทธิเข้าถึงบริการโรงพยาบาลเอกชนนอกระบบเบิกจ่ายเดิมของสามกองทุนประกันสุขภาพ เมื่อเจ็บป่วยฉุกเฉินเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลา 6 ...
    • การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของโรงพยาบาลรัฐและเอกชนในช่วงการระบาดของ COVID-19 

      จิราภรณ์ ชูวงศ์; Jiraporn Choowong; พัชราภรณ์ ตุลยกุล; Phatcharapon Tulyakul; เจียมจิต โสภณสุขสถิตย์; Jiamjit Sophonsuksathit; ประไพ เจริญฤทธิ์; Prapai Jarernrit; เสาวณีย์ ปล้องหอย; Saowanee Plonghoy (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: โครงการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวน พัฒนา และศึกษาผลของรูปแบบการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉินวิถีใหม่สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในช่วงการระบาดของ COVID-19 ของโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ...
    • การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตแบบไร้รอยต่อและบูรณาการในประเทศไทย 

      พรทิพย์ วชิรดิลก; Porntip Wachiradilok; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; อัญชุลี เนื่องอุตม์; Aunchulee Neungaud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      สถานการณ์ปัจจุบันมีผู้ป่วยด้วยโรคจิตเวชเพิ่มมากขึ้นทุกขณะ ในภาพรวมพบว่าประชากร 1 ใน 5 ของประเทศไทยมีปัญหาสุขภาพจิต มีผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการเริ่มต้นถึงรุนแรงร้อยละ 14.3 หรือ 7 ล้านคน และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะฉุกเฉินว ...
    • การพัฒนาเครื่องมือเพื่อประเมินความเสี่ยงทางคลินิกของผู้ป่วยหนักด้วยกระบวนการเรียนรู้ด้วยเครื่อง โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยหนักเพื่อการวิจัยของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 

      สิทธิโชค ไชยชูลี; Sitthichok Chaichulee; ธรรมสินธ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; รังสรรค์ ภูรยานนทชัย; Rungsun Bhurayanontachai; โอสรี อัครบวร; Osaree Akaraborworn; วีรพงศ์ วัฒนาวนิช; Veerapong Vattanavanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตัวในหอผู้ป่วยวิฤตมีความเสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพทางคลินิก เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจขาดเลือด โดยส่วนใหญ่แพทย์และพยาบาลจะประเมินอาการของผู้ป่วยโดยใช้ข้อมูลทางคลินิก ข้อมูลทางพยาธิวิทยาร่วมกับทางสรีรวิทยา ...
    • การรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนรูปแบบการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับพื้นที่ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; อังสุมาลี ผลภาค; อาณัติ วรรณศรี; วรรณภา บำรุงเขต; Paiboon Suriyawongpaisarn; Samrit Srithamrongsawat; Pintusorn Hempisut; Boonyawee Aueasiriwon; Aungsumalee Pholpark; Arnat Wannasri; Wannapha Bamrungkhet (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-06-01)
      รายงานนี้มุ่งหมายรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินของกลไกหลักในพื้นที่ที่มีสมรรถนะการดำเนินงานที่ดี เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนวทางการดำเนินงานของกลไกหลักในระดับจังหวัดและท้องถิ่น เพื่อเพิ่มสมรรถนะการดำเ ...
    • การรับรู้และประสบการณ์ของผู้ป่วยในการใช้บริการรักษาพยาบาลตามนโยบาย เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน 

      วรรณภา บำรุงเขต; Wannapha Bamrungkhet; สุธีรดา ฉิมน้อย; Sutheerada Chimnoi; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และประสบการณ์ผู้ป่วยในการใช้บริการรักษาพยาบาลตามนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน” โดยการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างแบบย้อนหลัง สุ่มสัมภาษณ์ด้วยวิธี ...
    • การวิเคราะห์อภิมานและการเสวนาหาฉันทมติเพื่อพัฒนาบัญชียาจำเป็นในระบบการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันนอกโรงพยาบาล 

      ปิยวัฒน์ ดิลกธรสกุล; Piyawat Dilokthornsakul; นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์; Nantawarn Kitikannakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: รายการยาจำเป็นในภาวะฉุกเฉินต้องการความชัดเจนของหลักฐานเชิงประจักษ์และข้อกำหนดในการจัดการระบบยา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์อภิมานและเสวนาหาฉันทมติในการพัฒนาข้อเสนอปรับปรุงบัญชีรายการยาจำเป็น ...
    • การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาลของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาสู่ระบบต้นแบบและการพัฒนาระบบดัชนีชี้วัดหลักของระบบ : ฉบับที่ 1.1 การศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล 

      รัญชนา สินธวาลัย (ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแนวปฏิบัติการดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล โดยการลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงลึกถึงแนวทางการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบฯ ในจังหวัดที่เป็นพื้นที่กรณีศึกษา ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น ...
    • การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน : กรณีศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 

      น้ำฝน รินวงษ์; Namfon Rinwong; ธนมณฑชนก พรหมพินิจ; Tanamontachanok Prompinij; อัจฉรา จินวงษ์; Achara Jinwong; สังคม ศุภรัตนกุล; Sungkom Suparatanagool; กษมา คงประเสริฐ; Kasama Kongprasert; พัชราภรณ์ ไชยศรี; Patcharaporn Chaisri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระหว่างเดือนธันวาคม 2564 - มิถุนายน 2565 กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ...
    • ความถูกต้องของการวินิจฉัยภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลโดยผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน 

      สุนิสา ต๋าจ๊ะ; Sunisa Taja; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham; วิพุธ เล้าสุขศรี; Wiput Laosuksri; รัดเกล้า สายหร่าย; Rudklao Sairai; วีรพล แก้วแปงจันทร์; Weerapont Kaewpaengchan; เชิดพงษ์ ปัญญา; Cherdpong Panya; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล การศึกษาก่อนหน้านี้รายงานว่า การวินิจฉัยของผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน (ผจป.) มีความถูกต้องในระดับที่แตกต่างกันไปในแต่ละที่ แต่ยังไม่พบการศึกษาในประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาความถูกต้อง ...
    • ความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาล 

      อุมารินทร์ คำพูล; Aumarin Kumpool; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; Boriboon Chenthanakij; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาลในแง่ความเห็นพ้องกับเกณฑ์การคัดแยกผู้ป่วยของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ...
    • ประกาศกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปีงบประมาณ 2567 

      จเร วิชาไทย; Charay Vichathai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม “เปิดพื้นที่วิจัยระบบสุขภาพ สู่การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์” และประกาศกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปีงบประมาณ 2567 ในวันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 8.30–16.30 น. ณ โรงแรมอัศวิน ...
    • ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินของโรงพยาบาลรัฐ เขตเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 3 

      ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์; Nathakrid Thammakawinwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09-05)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการวิจัยระบบสุขภาพ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2557 “วิจัย...เปลี่ยนชีวิต” วันที่ 4-5 กันยายน 2557 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • ปัญหาและอุปสรรคของการใช้โปรแกรมรับแจ้งเหตุและสั่งการการแพทย์ฉุกเฉินในการคัดแยกและจัดลำดับการจ่ายงาน 

      ภาวิตา เลาหกุล; Pavita Laohakul; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; คัมภีร์ สรวมสิริ; Kamphee Sruamsiri; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      ภูมิหลังและเหตุผล การรักษาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลที่ล่าช้าและไม่เหมาะสมอาจทำให้ผู้ป่วยอาการแย่ลงได้ การใช้โปรแกรม ITEMS (information technology for emergency medical system) ก่อนรับผู้ป่วย ช่วยให้เลือกชุดปฏิบัติการฉุกเฉินเหม ...
    • ผลการประเมินนโยบายการลดความเหลื่อมล้ำในระบบการแพทย์ฉุกเฉินของ 3 กองทุนประกันสุขภาพ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV