• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Emergency Medical Service"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 1-7 จาก 7

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ : ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้บริการในระบบการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล 

      ธงชัย อามาตยบัณฑิต; Thongchai Armartpundit; นิพนธ์ มานะสถิตพงศ์; Nipon Manasathitpong; อินทนิล เชื้อบุญชัย; Intanin Churboonchai; เสาวนีย์ โสบุญ; Sowanee Soboon; บดินทร์ บุณขันธ์; Bodin Boonkhan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      อุบัติการณ์การตายและพิการของผู้ป่วยฉุกเฉินสามารถลดลงได้ด้วยการใช้ระบบการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาล จากรายงานล่าสุดมีเพียงร้อยละ 3.1 เท่านั้นที่ใช้บริการในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ก่อนถึงโรงพยาบาล จึงมีความจำเป็นเร่งด่ ...
    • การรับรู้และประสบการณ์ของผู้ป่วยในการใช้บริการรักษาพยาบาลตามนโยบาย เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน 

      วรรณภา บำรุงเขต; Wannapha Bamrungkhet; สุธีรดา ฉิมน้อย; Sutheerada Chimnoi; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และประสบการณ์ผู้ป่วยในการใช้บริการรักษาพยาบาลตามนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาทุกที่ ทั่วถึงทุกคน” โดยการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ ด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างแบบย้อนหลัง สุ่มสัมภาษณ์ด้วยวิธี ...
    • การให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน : กรณีศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 

      น้ำฝน รินวงษ์; Namfon Rinwong; ธนมณฑชนก พรหมพินิจ; Tanamontachanok Prompinij; อัจฉรา จินวงษ์; Achara Jinwong; สังคม ศุภรัตนกุล; Sungkom Suparatanagool; กษมา คงประเสริฐ; Kasama Kongprasert; พัชราภรณ์ ไชยศรี; Patcharaporn Chaisri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลบ้านตาด อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระหว่างเดือนธันวาคม 2564 - มิถุนายน 2565 กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ...
    • คุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุของหน่วยกู้ชีพ เขตอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ 

      ภิญโญ เจียรนัยกุลวานิช; Pinyo Jearanaikulvanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาคุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุของหน่วยกู้ชีพเขตอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เป็นการศึกษาแบบย้อนหลังโดยการรวบรวมข้อมูลผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินที่ได้รับการช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉินผ่านทางหน่วยกู้ชีพของเขตอำเภอสูงเม่น ...
    • ผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อระยะเวลาการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ 

      สุนิสา ต๋าจ๊ะ 1; Sunisa Taja 1; ปริญญา เทียนวิบูลย์ 1; Parinya Tianwibool 1; กรองกาญจน์ สุธรรม 1; Krongkarn Sutham 1; วชิระ วงศ์ธนสารสิน 1; Wachira Wongtanasarasin 1; รัดเกล้า สายหร่าย 1; Rudklao Sairai 1; วีรพล แก้วแปงจันทร์ 2; Weerapont Kaewpaengchan 2; จรูญ เนตาสิทธิ์ 2; Jaroon Netasit 2 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อระบบการดูแลผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บนอกโรงพยาบาล วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ต่อระยะเวลาในการออกปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลมห ...
    • มุมมองผู้ป่วยเกี่ยวกับคุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในบริบทการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 

      พีรสิชฌ์ สิทธิรัตน์; Peerasit Sitthirat; พิวัฒน์ ศุภวิทยา; Piwat Suppawittaya; ภูภิญโญ ลิมป์จันทรา; Phupinyo Limchantra; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjornchai; พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์; Pongsakorn Atiksawedparit; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      การแพทย์ฉุกเฉินถือเป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสุขภาพที่สามารถลดอัตราตายและผลกระทบจากการเจ็บป่วยในกลุ่มผู้ป่วยที่มีการเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต อย่างไรก็ตาม การแพทย์ฉุกเฉินนั้นยังมีความท้าทายหลายประการ โดยเฉพาะในการเข้าถึงบริการ ...
    • เหตุใดคนเชียงใหม่เมื่อเกิดเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรืออุบัติเหตุจึงไม่เรียกใช้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน 

      ณัชชา หาญสุทธิเวชกุล; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; บวร วิทยชำนาญกุล; Natcha Hansudewechakul; Boriboon Chenthanakij; Borwon Wittayachamnankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การเจ็บป่วยฉุกเฉินและอุบัติเหตุเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นของประชากรไทย การมีระบบการดูแลก่อนถึงโรงพยาบาลที่ดีจะช่วยลดอัตราการสูญเสียได้ กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายให้โรงพยาบาลต่างๆ ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV