เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "Tuberculosis"
แสดงรายการ 1-20 จาก 45
-
การควบคุม ป้องกันวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)การป้องกันวัณโรคที่ดีที่สุดคือ การตรวจหาและรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้เร็วที่สุด การให้วัคซีนบีซีจีแก่เด็กทารกแรกเกิด ไม่สามารถป้องกันเด็กจากวัณโรคได้อย่างเด็ดขาด และควรป้องกันตนเองไม่ให้ติดเชื้อเอชไอวี เพราะจะทำให้มีโอกาสป่วย ... -
การคัดกรองวัณโรคระดับประชากรในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)วัณโรคเป็นโรคติดต่อร้ายแรง มีอุบัติการณ์และความชุกสูง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย เว้นแต่การตรวจภาพรังสีทรวงอกที่บรรจุในโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ... -
การค้นหาสารต้านวัณโรคตัวใหม่ที่มีความจำเพาะสูงในการออกฤทธิ์ยับยั้งการติดเชื้อวัณโรคที่มีการดื้อยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการออกแบบและค้นหาสารต้านวัณโรคตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งวัณโรคดื้อยากลุ่มฟลูออโรควิโนโลน โดยใช้ระเบียบวิธีการจำลองแบบแล ... -
การดำเนินการ อุปสรรคและความต้องการของโรงพยาบาลในประเทศไทยในการป้องกันการแพร่กระจายวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)การแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในโรงพยาบาลส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย บุคลากรและโรงพยาบาล การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินการ อุปสรรคและความต้องการการสนับสนุนของโรงพยาบาลในประเทศไทยในการป้องกันการแพร่กระจายวัณโรค ... -
การดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคแบบมีพี่เลี้ยงกำกับการกินยาของโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต พ.ศ. 2548-2549
(Health Systems Research Institute, 2551)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือสมาชิกในครอบครัวเป็นพี่เลี้ยงกำกับการกินยา ซึ่งทางโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ตและศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐ ... -
การทบทวนข้อมูลทางคลินิกของผู้เสียชีวิตจากวัณโรคในฐานข้อมูลการสอบสวนสาเหตุการตายจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในปี พ.ศ. 2562
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)การทบทวนสาเหตุการตายของประชากรไทยโดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง (verbal autopsy) จำนวน 9,300 ราย คณะผู้ทบทวนรายงานว่า วัณโรคเป็นสาเหตุการตาย ร้อยละ 2.8 ในผู้ชาย และร้อยละ 1.3 ในผู้หญิง อันเป็นสาเหตุการตายลำดับที่ 10 และ ... -
การประกันสุขภาพและความล่าช้าในการเข้าถึงและรับการดูแลรักษาของผู้ป่วยวัณโรคที่เป็นแรงงานข้ามชาติชาวพม่าในพื้นที่ชายแดนของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)บทนำ วัณโรคเป็นหนึ่งในโรคติดต่อที่เป็นภาระต่อสุขภาพ สังคมและเศรษฐกิจของโลกโดยเฉพาะในประเทศที่ประชาชนมีรายได้ต่ำและปานกลางรวมถึงประเทศไทย วัณโรคเกิดจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis สามารถแพร่จากผู้ติดเชื้อไปยังผู้อื่นผ ... -
การประยุกต์ใช้การตรวจวัดระดับยาในเลือดที่ใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และพื้นที่ใกล้เคียง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10-17)โครงการประยุกต์ใช้การตรวจวัดระดับยาในเลือดที่ใช้รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และพื้นที่ใกล้เคียง มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานได้รับการติดตามผลการรักษาอย่างมีประสิทธ ... -
การประยุกต์ใช้วิธีการพัฒนาคุณภาพโดยความร่วมมือในการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)โครงการนี้เป็นโครงการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการดำเนินงานในการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ที่เหมาะสมกับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการปฏิบัติงานขอ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของมาตรการค้นหาและตรวจวินิจฉัยวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย M. Tuberculosis ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอด ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่าย ผู้สัมผัสที่อยู่ใกล้ชิดมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคหรือติดเชื้อวัณโรคแฝง ซึ่งมีโอกาสพัฒนาไปเป็นผู้ป่วยวัณโรค ... -
การประเมินเชิงเปรียบเทียบชุดตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงจากตัวอย่างเลือด: QuantiFERON-TB Gold Plus และ QIAreach QuantiFERON-TB
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงและการจัดการที่เหมาะสม เป็นองค์ประกอบสำคัญในการลดจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝง ด้วยการตรวจสารอินเตอร์เฟอรอนแกมมาจากตัวอย่างเลือด มีข้อดีกว่าการทดสอบทางผิวหน ... -
การประเมินเทคนิคทางอณูวิทยาเพื่อวินิจฉัยวัณโรค และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ปีที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)วัณโรค (tuberculosis: TB) และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (multidrug-resistant TB: MDR-TB) เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย ที่ผ่านมาพบว่าความครอบคลุมในการรักษา TB และ MDR-TB อยู่ในอัตราที่ต่ำโดยหนึ่งในสาเหตุสำคัญมาจาก ... -
การพัฒนาขบวนการวิเคราะห์ข้อมูลจีโนมและการค้นหาเครื่องหมายพันธุกรรมเพื่อศึกษาระบาดวิทยาและทำนายการดื้อยาของเชื้อวัณโรค (ปีที่ 2)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-05)วัณโรคยังคงเป็นโรคติดเชื้อที่สร้างปัญหาทางสาธารณสุขและส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างมาก การศึกษาระบาดวิทยาและชีววิทยาของเชื้อวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคดื้อยา รวมถึงการวางแผนการรักษาโรคจึงเป็นสิ่งจำเป็นอ ... -
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานโดยใช้ระบบทะเบียนวัณโรคแบบอิเล็กทรอนิกส์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)การเฝ้าระวังวัณโรคด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic TB surveillance) มีประโยชน์ทั้งในการเก็บข้อมูลผู้ป่วยระดับบุคคลและการวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวม ทำให้ทราบภาพรวมและความคืบหน้าของการดูแลวัณโรคในระดับประเทศได้อย่างรวดเร็ว ... -
การพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและลดผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)วัณโรคเป็นโรคของความยากจนและมีการตีตราทางสังคมสูง (stigma) ประเทศไทยมีปัญหารุนแรงเกี่ยวกับวัณโรคร่วมกันทั้ง 3 ด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค, ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) และผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) ... -
การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ช่วยในการคัดกรองรอยโรคจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกเพื่อคัดกรองวัณโรคปอด มะเร็งปอดและรอยโรคอื่นๆ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ภาพถ่ายดิจิทัลรังสีทรวงอก หรือ Digital chest x-ray image เป็นเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ วัณโรคปอดและมะเร็งปอด ในการตรวจสุขภาพประจำปีอีกด้วย ในแต่ละปีมีภาพถ่า ... -
การพัฒนาระบบวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การระบาดของวัณโรคดื้อยาในชุมชน โดยการศึกษาปัจจัยด้านพันธุกรรมของเชื้อวัณโรคดื้อยา ปัจจัยเจ้าบ้านที่สัมพันธ์กับอัตราการติดเชื้อวัณโรคดื้อยาทั้งจากตัวผู้ป่วยและผู้สัมผัสผู้ป่วย กระบวนการแพร่ระบาด และกระบวนการรักษาในพื้นที่ระบาดของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การศึกษาปัจจัยด้านพันธุกรรมของเชื้อวัณโรคดื้อยา ปัจจัยเจ้าบ้านที่สัมพันธ์กับอัตราการติดเชื้อวัณโรคดื้อยาทั้งจากตัวผู้ป่วยและผู้สัมผัสผู้ป่วย กระบวนการแพร่ระบาดและกระบวนการรักษา เป็นการวิจัยแบบตัดขวาง (Crossectional study) ... -
การพัฒนารูปแบบความร่วมมือของหลายภาคส่วน เพื่อยุติวัณโรคในเขตเทศบาลเมืองและอำเภอเมือง (ปีที่ 1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มูลนิธิวิจัยวัณโรคและโรคเอดส์, 2563-12)ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกรายงานต่อเนื่องทุกปีว่าประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม 14 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคมาก การตีตราวัณโรค (stigma) และความยากจน เป็นอุปสรรคต่อการยุติวัณโรคและมีความจำเป็นต้องร่วมมือกับหลายภาคส่วนเพื่อยุติวัณโรค ... -
การพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเกิดเป็นวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีที่มีการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงด้วยยาสูตรใหม่ ยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินวันละ 1 ครั้ง (4 สัปดาห์) เปรียบเทียบกับยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (12 สัปดาห์) (ปีที่ 1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03-29)วัณโรคยังคงเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งการติดเชื้อเอชไอวีจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นวัณโรคมากขึ้น (100 เท่า) แม้ว่าการรักษาวัณโรคแฝงสามารถป้องกันการเป็นวัณโรคได้ประมาณ 60-90% แต่สูตรการร ... -
การพัฒนาแบบจำลอง คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการดำเนินการ สำหรับมาตรการค้นหาวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค (ปีที่1)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญต่อประชากรทั่วโลก ประเทศไทยถูกจัดเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาภาระวัณโรคสูง (high TB burden country) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (End TB Strategy) ...