• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) 
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
  •   หน้าแรก
  • เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง)
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เลือกตามคำสำคัญ (หัวเรื่อง) "การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)"

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 41-60 จาก 620

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • การตอบสนองภูมิต้านทานต่อไวรัสตับอักเสบ บี หัด หัดเยอรมัน คางทูม จากการให้วัคซีนไวรัสตับอักเสบ บี เมื่อแรกเกิด และวัคซีนรวม DTPa-HB-HIb-IPV หรือ DTPw-HB-Hib+OPV ที่ 2, 4, 6 และ 18 เดือน และ MMR ที่ 9 และ 30 เดือน และระบาดวิทยาภูมิคุ้มกันของโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม ในประชากรไทย สำหรับการวางแผนหลังจากมีการกวาดล้างโปลิโอ 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; รุจิพัชร์ วสิษฐ์ธัญเกษม; Rujipat Wasitthankasem; นวรัตน์ โพธิ์สุวรรณ; Nawarat Posuwan; สมพงษ์ วงษ์พันสวัสดิ์; Sompong Vongpunsawad; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; จิรัชญา พื้นผา; Jiratchaya Puenpa; Hosie, Margaret; Leuridan, Elke; Damme, Pierre Van (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ประเทศไทยมีแผนการปรับเปลี่ยนการใช้วัคซีนในแผนการให้วัคซีนแห่งชาติในทารก โดยเปลี่ยนวัคซีนรวมชนิด 4 โรค เพิ่มเป็นวัคซีน 5 โรค คือ คอตีบ ไอกรน ทั้งเซลล์บาดทะยัก ตับอักเสบ บี และ วัคซีนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ Hib จากแผนการให้วัค ...
    • การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังโดยเภสัชกรชุมชน (ความดันโลหิตสูงและวัณโรคปอด) 

      พยอม สุขเอนกนันท์; Phayom Sukanaknan; อุษาศิริ ศรีสกุล; วิลาสินี หิรัญพานิช; มนสา สุนารัตน์; Usasiri Srisakul; Wilasinee Hirunphanit; Monsa Sunarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การติดตามดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง)โดยเภสัชกรชุมชน พบว่าการมีส่วนร่วมของเภสัชกรในการติดตามดูแลผู้ป่วยในชุมชนในประเทศไทย ยังไม่เป็นบทบาทที่ชัดเจนทั้งตัวเภสัชกรเองและวิชาชีพอื่น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่ ...
    • การติดตามผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจโรคหลอดเลือดหรือการเสื่อมของการทำงานของไตแบบสหสถาบัน (ส.ห.ส.) ระยะ 2 (เพื่อศึกษาภาวะแทรกซ้อนระยะยาวและความคุ้มทุนของการรักษา) (ปีที่ 1) 

      ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      โรคไตเรื้อรัง (CKD) มีผลต่อคุณภาพชีวิต มีค่าใช้จ่ายสูง เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ ภาวะไตเสื่อม และภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ปัจจัยเสี่ยงมีทั้งปัจจัย traditional เช่น ความดันโลหิตสูง และ non-traditional เช่น ซีด ความแข็งของเส้นเลือด ...
    • การถอดบทเรียนรูปแบบการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย 

      ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; จิราพร วรวงศ์; Chiraporn Worawong; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; จุฬารัตน์ ห้าวหาญ; Chularat Howharn; ดิษฐพล ใจซื่อ; Dittaphol Jaisue; อภิรดี เจริญนุกูล; Apiradee Charoennukul; ทิพาวรรณ สมจิตร; Thipawan Somjit; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-07)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคและสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ...
    • การถอดรหัสพันธุกรรมทั้งจีโนมและการศึกษาองค์ประกอบทางชีววิทยาโอมิกส์ ในชิ้นเนื้อและเลือด นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมชุดตรวจเพื่อการคัดกรอง วินิจฉัย การรักษาแบบเฉพาะบุคคล และการติดตามการรักษาในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่ไม่มียีนกลายพันธุ์เฉพาะสำหรับยามุ่งเป้า ปี 2564 

      ธัญนันท์ ใบสมุทร; Thanyanan Baisamut; อาทิตย์ ไชยร้องเดื่อ; Arthit Chairoungdua; พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ; Putthapoom Lumjiaktase; พิมทิพย์ สังวรินทะ; Pimtip Sanvarinda; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; นฤมล ตราชู; Narumol Trachu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      ปัจจุบันการรักษาโรคมะเร็งปอดมีหลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการให้ยาเคมีบำบัดแบบดั้งเดิม หรือการรักษาแบบมุ่งเป้า หรือการรักษาด้วยยาภูมิคุ้มกันบำบัด ซึ่งเป็นวิธีการรักษาแบบใหม่ และได้ผลดีมาก โดยเพิ่มอัตราการรอดชีวิต รวมถึงเพิ่มอัต ...
    • การทดสอบสมรรถภาพทางกายและสุขภาวะทางกายของผู้สูงอายุไทย 

      ศราวิน เทพสถิตย์ภรณ์; Sarawin Thepsatitporn; ปรัชญา แก้วแก่น; Pratchaya Kaewkaen; ปริญญา เรืองทิพย์; Parinya Ruengthip (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-04)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประเมินสุขภาวะทางกาย วิเคราะห์ความสัมพันธ์และจัดกลุ่มสมรรถภาพทางกายและหาดัชนีชี้วัดสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุไทยทั่วประเทศ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองได้ ...
    • การทบทวนกระบวนทัศน์เรื่องความตายกับมิติแห่งสุขภาวะ 

      ธนา นิลชัยโกวิทย์; Tana Nilchaigowit; วริสรา กริชไกรวรรณ; วรรณา จารุสมบูรณ์; พรเลิศ ฉัตรแก้ว; Warisara Krikhaiwan; Wanna Jarusomboon; Pornlert Charkaeow (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      โครงการนี้เป็นหัวข้อหนึ่งของการศึกษาทบทวนกระบวนทัศน์สุขภาพซึ่งหยิบยกเอาประเด็นเรื่องความตายและการจัดการความตายขึ้นมาพิจารณา โดยคาดหวังว่าผลการศึกษานี้จะเป็นจุดเริ่มต้นให้ผู้คนในสังคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหันมาทบทวนแนวค ...
    • การทบทวนข้อมูลทางคลินิกของผู้เสียชีวิตจากวัณโรคในฐานข้อมูลการสอบสวนสาเหตุการตายจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในปี พ.ศ. 2562 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; พรรณทิพย์ ฉายากุล; Pantip Chayakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)
      การทบทวนสาเหตุการตายของประชากรไทยโดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง (verbal autopsy) จำนวน 9,300 ราย คณะผู้ทบทวนรายงานว่า วัณโรคเป็นสาเหตุการตาย ร้อยละ 2.8 ในผู้ชาย และร้อยละ 1.3 ในผู้หญิง อันเป็นสาเหตุการตายลำดับที่ 10 และ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบเรื่องการนำยาเก่าและการรักษามุ่งเป้าที่ยีนก่อโรคเพื่อการรักษาโรคกล้ามเนื้อร่วมประสาท 

      อรณี แสนมณีชัย; Oranee Sanmaneechai; ธัญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee; วรุตม์ ดุละลัมพะ; Warut Tulalamba; มงคล ชาญวณิชตระกูล; Mongkol Chanvanichtrakool; ญาณิน สุขสังขาร; Yanin Suksangkharn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-11)
      ภาวะกล้ามเนื้อร่วมประสาท (neuromuscular diseases: NMD) เป็นภาวะที่เป็นเรื้อรังชนิดไม่ติดต่อ (non-communicable disorders) ส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มโรคหายาก การรักษาโรคกล้ามเนื้อร่วมประสาทหลักๆ ...
    • การทบทวนสถานการณ์และกลไกการจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ 

      ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อรจิรา วงษ์ดนตรี; มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      “Health Literacy” หมายถึง ความสามารถในการค้นหาเข้าถึง ทำความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ ในอดีตจนถึงปัจจุบัน นักวิชาการในประเทศไทยมีการแปลคำนี้ไว้แตกต่างกันไป อาทิเช่น “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าท ...
    • การทำนายการเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษในกลุ่มสตรีตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี โดยการตรวจดอพเลอร์หลอดเลือดแดงยูเทอรีนร่วมกับ การวัดระดับของ fms-like tyrosine kinase (sflt-1) , placental growth factor ( PlGF) และ pregnancy- associated plasma protein-A (PAPP-A) 

      ชำนาญ แท่นประเสริฐกุล; Chamnan Tanprasertkul; จรินทร์ทิพย์ สมประสิทธิ์; Charintip Somprasit; ต้องตา นันทโกมล; Tongta Nantakokon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้ดอพเลอร์อัลตราซาวน์ ตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงยูเทอรีน ร่วมกับการตรวจวัดระดับของ sflt-1( Soluble fms-like tyrosine kinase-1 ) PlGF (Placenta growth factor) และPAPP-A ...
    • การทำนายการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุโดยการตรวจถ่ายภาพเลือดมาเลี้ยงสมองทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ร่วมกับการกระตุ้นการรู้คิด 

      สุภัทรพร เทพมงคล; Supatporn Tepmongkol; สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย; Sookjaroen Tangwongchai; ชาวิท ตันวีระชัยสกุล; Chavit Tunvirachaisakul; อภิญญ์เพ็ญ สาระยา วสันติวงศ์; Abhinbhen W. Saraya; นิจศรี ชาญณรงค์; Nijasri Charnnarong; อิทธิพล ตะวันกาญจนโชติ; Itthipol Tawankanjanachot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      ที่มา : การทำนายการเกิดโรคอัลไซเมอร์ในคนที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีหลายวิธี แต่มีความแม่นยำไม่มากนัก การใช้การตรวจ Loewenstein-Acevedo Scale for Semantic Interference and Learning (LASSI-L) พบว่า มีความไวสูงในการ ...
    • การทำนายผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดโดยใช้การวิเคราะห์ระดับทรานสคริปโตมิกส์และโปรตีโอมิกส์ในผู้ป่วยมะเร็งปอด 

      ปฤษณา เรืองรัตน์; Pritsana Raungrut; ปารมี ทองสุกใส; Paramee Thongsuksai; ณรงค์วิทย์ นาขวัญ; Narongwit Nakwan; ฑิตยา บุญส่ง; Thitaya Bunsong; ทิดารัตน์ รักเลิศ; Thidarat Ruklert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งปอดชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมามีอุบัติการณ์การเกิดและการตายสูงเป็นลำดับต้นๆ ของประชากรโลก ยาเคมีบำบัดยังคงเป็นส่วนสำคัญในการรักษา แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตอบสนองต่อการรักษาก็ยังต่ำ การศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปที่ค้นหาโป ...
    • การบริบาลเภสัชกรรมและการจ่ายยาต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 ในร้านยามหาวิทยาลัย 

      วิลาวัณย์ ทุนดี; ปวิตรา พูลบุตร; รจเรศ หาญรินทร์; Wilawan Toondee; Pawitra Pulbutr; Roadjares Hanrin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      งานวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาแบบ Quasi Experimental กลุ่มควบคุมและทดลอง มีจำนวนกลุ่มละ 59 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมและรับยาต่อเนื่องที่ร้านยาเป็นเวลา 1 ปี กลุ่มควบคุมได้รับบริการตามปกติที่คลินิกพิเศษในโรงพยาบาล ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : สุขภาพจิต 

      อิสมาอีล โดยิ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2552-06)
      การศึกษาทบทวน เรื่อง บูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : สุขภาพจิต โดยศึกษาและรวบรวมองค์ความรู้ด้านสุขภาพจิตจากหลักศาสนา คุณธรรม จริยธรรมของอิสลาม ข้อมูลที่ได้สำหรับนำไปใช้ประโยชน์ในการให้ประชาชน ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : อาหารและโภชนาการ 

      ซอฟียะห์ นิมะ; ยูซูฟ นิมะ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้(สวรส.ภาคใต้)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2552-07)
      เอกสารฉบับนี้นำเสนอสถานการณ์ ปัญหาด้านอาหารและโภชนาการ ตัวชี้วัดสถานะ บทบัญญัติและวัฒนธรรมอิสลาม งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาอาหารและโภชนาการ พร้อมกันนี้ได้วิเคราะห์ถึงมาตรการที่จะแก้ไขปัญหา จากงานวิจัยและบัญญัต ...
    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : โรคเรื้อรัง(โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง) 

      มะหามะ เมาะมูลา; ยูซูฟ นิมะ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2552-05)
      เอกสารฉบับนี้นำเสนอสถานการณ์ ปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรังสามโรค คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง พร้อมกันนี้ได้วิเคราะห์ถึงมาตรการที่จะแก้ไขปัจจัยเสี่ยงของโรคดังกล่าวจากงานวิจัยและบท ...
    • การประกันสุขภาพภาคเอกชนในประเทศไทย 

      สุวาณี สุรเสียงสังข์; Suwanee Surasiengsunk (ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547)
      ค่ารักษาพยาบาลในปัจจุบันนั้นอยู่ในอัตราที่สูงและมีแนวโน้มสูงขึ้นต่อไปเมื่อเทคโนโลยีทางการแพทย์พัฒนามากขึ้น ดังนั้นหากคนไข้้สามารถโอนความเสี่ยงในการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บไปยังคนอื่นหรือกลุ่มคนอื่นเพื่อจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้ ...
    • การประกันสุขภาพและความล่าช้าในการเข้าถึงและรับการดูแลรักษาของผู้ป่วยวัณโรคที่เป็นแรงงานข้ามชาติชาวพม่าในพื้นที่ชายแดนของประเทศไทย 

      ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล; Tippawan Liabsuetrakul; หมิวมินอู; Myo Minn Oo; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; นริศ บุญธนภัทร; Naris Boonthanapat; เททโกโกออง; Htet Ko ko Aung (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      บทนำ วัณโรคเป็นหนึ่งในโรคติดต่อที่เป็นภาระต่อสุขภาพ สังคมและเศรษฐกิจของโลกโดยเฉพาะในประเทศที่ประชาชนมีรายได้ต่ำและปานกลางรวมถึงประเทศไทย วัณโรคเกิดจากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis สามารถแพร่จากผู้ติดเชื้อไปยังผู้อื่นผ ...
    • การประชุมเชิงปฎิบัติการ สมรรถนะทางวัฒนธรรมในระบบสุขภาพ : องค์ความรู้สู่การวิจัยเชิงคุณภาพ 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557)
      วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะทางวัฒนธรรมให้กับบุคลากรสุขภาพ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม เสริมให้เห็นมุมมองที่ละเอียดอ่อนในมิติของความเป็นมนุษย์และการดูแลรักษาผู้ป่วย ...

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [620]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV