Browsing by Title
Now showing items 3379-3398 of 5817
-
ติดเชื้อดื้อยา สาเหตุยอดฮิต เจ็บ ป่วย ตาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03-23)Infographic จากงานวิจัยการป้องกันการติดเชื้อดื้อยาในหออภิบาลผู้ป่วย (Prevention of Multidrug Resistant Organism Infections in Intensive Care Units) อ่านงานวิจัยฉบับเต็มได้ที่ http://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4265 -
ต้นฉบับบทความวิชาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06) -
ต้นทุน และประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียม ภาครัฐและเอกชนในปี 2544
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุน โครงสร้างต้นทุน ประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียมภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2544 โดยใช้วิธีการสำรวจ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าเสื่อมราคา ปริมาณการบริการฟอกเลือด ... -
ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ยาสามัญ) และ Risedronate (ยาต้นแบบ) สำหรับการป้องกันแบบปฐมภูมิของกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)การศึกษานี้วิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ที่เป็นยาชื่อสามัญ) และ Risedronate (ที่เป็นยาต้นแบบ) ในการป้องกันแบบปฐมภูมิของการเกิดกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ข้ออักเสบรูห์มาตอยด์, ใช้ ... -
ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการยาละลายลิ่มเลือด ในโรงพยาบาลชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียก (ST segment elevation myocardial infarction: STEMI) เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ การเปิดหลอดเลือดหัวใจให้เร็วที่สุดโดยการขยายหลอดเลือดหัวใจจึงช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ แต่ในบริบทที่ ... -
ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการยาละลายลิ่มเลือดในการรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายชนิดเอสทียก ในโรงพยาบาลชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียก (ST segment elevation myocardial infarction: STEMI) เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ การเปิดหลอดเลือดหัวใจให้เร็วที่สุดโดยการขยายหลอดเลือดหัวใจจึงช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ แต่ในบริบทที่ ... -
ต้นทุน-ประสิทธิผลของการให้บริการยาละลายลิ่มเลือดในการรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายชนิดเอสทียก ในโรงพยาบาลชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียก (ST segment elevation myocardial infarction: STEMI) เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ การเปิดหลอดเลือดหัวใจให้เร็วที่สุด โดยการขยายหลอดเลือดหัวใจจะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ แต่ในบริบทที่ ... -
ต้นทุน-ประสิทธิผลของโครงการรู้ทัน..กันหักซ้ำ ในผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก โรงพยาบาลเลิดสิน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)ภูมิหลังและเหตุผล: กระดูกข้อสะโพกหักในผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในทุกประเทศทั่วโลกและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีตามจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น การรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยใช้เวลานาน ส่งผลให้แต่ละประเทศต้องรับภาระทางการเงิน ... -
ต้นทุน-ผลได้ ของการควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย โดยเน้นการควบคุมในสุนัข
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)โรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากยังไม่มีทางรักษาโรคนี้ ผู้ป่วยต้องเสียชีวิตทุกราย โดยมีสุนัขเป็นต้นเหตุที่สำคัญ องค์การอนามัยโลกให้คำแนะนำว่า หากสามารถฉีดวัคซีนให้แก่สุนัขได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ... -
ต้นทุน-อรรถประโยชน์ของการทำผ่าตัดเอ็นไขว้หน้าโดยการส่องกล้องเข่า (Arthroscopic knee surgery) ในโรงพยาบาลทั่วไประดับ M1 ในเขตสุขภาพที่ 7
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ ต้องการประเมินต้นทุนและอรรถประโยชน์ของการทำผ่าตัดส่องกล้องเข่าในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเอ็นไขว้หน้าฉีกขาดและ/หรือร่วมกับหมอนรองหัวเข่าแตก (Anterior cruciate ligament injury ... -
ต้นทุนการจัดบริการของคลินิกหมอครอบครัว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนการดำเนินงานคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster: PCC) โดยเก็บข้อมูลจากคลินิกหมอครอบครัวในพื้นที่เป้าหมาย 4 จังหวัดๆ ละ 1 แห่ง ตามความพร้อมของพื้นที่ จำแนกเป็น PCC ในเขตเมือง ... -
ต้นทุนการจัดบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในสถาบัน : กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านธรรมปกรณ์ จังหวัดเชียงใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)งานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาต้นทุนของการจัดบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านธรรมปกรณ์ จังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2557 ประชากรของการศึกษาคือผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ที่ศูนย์ฯ ทั้งหมดจำนวน ... -
ต้นทุนการจัดบริการต่อหัวประชากรของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนต่อหัวประชากรสำหรับการจัดบริการระดับปฐมภูมิของโรงพยาบาลแม่ข่ายและหน่วยบริการปฐมภูมิที่เป็นเครือข่าย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลต้นทุนจากโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ... -
ต้นทุนการจัดบริการผู้ป่วยนอกโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้สูงอายุของโรงพยาบาลชุมชน ประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการต้นทุนในการจัดบริการแก่ผู้ป่วยนอกกลุ่มผู้สูงอายุวินิจฉัยโรคหลักความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองในโรงพยาบาลชุมชน โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากปี 2557 ของโรงพยาบาลชุมชน จำนวน 4 แห่ง ... -
ต้นทุนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งแบบประคับประคองของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)การดูแลแบบประคับประคองเป็นขั้นตอนสำคัญของการดูแลผู้ป่วยมะเร็งโดยเฉพาะเมื่อเข้าสู่ระยะท้าย องค์การอนามัยโลกได้กล่าวไว้ว่าการดูแลแบบประคับประคองนั้นมีต้นทุนต่ำ แต่การศึกษาต้นทุนของบริการประเภทนี้ในประเทศไทยยังมีจำกัด ... -
ต้นทุนการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม (แมมโมแกรม) ในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อหาต้นทุนการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม (แมมโมแกรม) ทั้งส่วนผู้จัดบริการและผู้รับบริการ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนผู้จัดบริการระหว่างเดือนกรกฎาคม 2545 ถึงเมษายน 2546 ใน 9 โรงพยาบาลตัวอย่าง ... -
ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยกลุ่มโรคจิตเภท พฤติกรรมแบบโรคจิตเภท และโรคหลงผิด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยกลุ่มโรคจิตเภท พฤติกรรมแบบโรคจิตเภท และโรคหลงผิด โดยศึกษาข้อมูลย้อนหลังในปีงบประมาณ 2559 ทำการศึกษาในโรงพยาบาลกลุ่มเป้าหมายจำนวน 8 แห่ง ประกอบด้วยโรงพยาบาลศูนย์ ... -
ต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอกผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอกแก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในโรงพยาบาล โดยทำการศึกษาในโรงพยาบาลกลุ่มเป้าหมายจำนวน 7 แห่ง โดยศึกษาข้อมูลย้อนหลังในปีงบประมาณ 2559 ประกอบด้วยข้อมูลบริการ ... -
ต้นทุนค่าบริการเวชกรรมฟื้นฟู
(ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2553-03)แม้ว่าบางบริการด้านเวชกรรมฟื้นฟูเริ่มขึ้นในประเทศไทยมานานเกือบสามสิบปีแล้ว แต่ก็นับว่าเป็นงานใหม่ของวงการสาธารณสุขไทย เพราะแต่เดิมคนส่วนใหญ่รู้จักเพียงบริการด้านกายภาพบำบัด ซึ่งเริ่มขึ้นในประเทศไทยมาก่อน ต่อมาเมื่อม ...