Browsing by Author "โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ"
Now showing items 1-19 of 19
-
COVID-19 Evidence Update: 10% ของชาวอิสราเอลที่ไม่รับวัคซีน ส่งผลอย่างไรกับวิกฤตโควิดระลอกใหม่ในประเทศ
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ในปัจจุบัน 15% (ประมาณ 1,105,000 คน) ของชาวอิสราเอลที่มีอายุเกิน 12 ปี และ 10% (ประมาณ 755,000 คน) ที่มีอายุเกิน 20 ปี ยังคงไม่ได้รับวัคซีน ถึงแม้ว่าจะมีสิทธิรับวัคซีนก็ตาม และคนกลุ่มนี้เองที่มีรายงานว่าเป็นคนส่วนใหญ่ที่ ... -
COVID-19 Evidence Update: การฉีดวัคซีนโควิด-19 แบบสลับหรือเปลี่ยนชนิดในต่างประเทศ
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ในต่างประเทศมีการฉีดวัคซีนต่างชนิดหรือต่างบริษัทผู้ผลิต โดยเหตุผลส่วนใหญ่ คือ 1. ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากวัคซีน (AstraZeneca ในเข็มสอง) 2. แก้ปัญหาวัคซีนขาดคราว 3. ฉีดกระตุ้นภูมิ (booster dose) ในประชากรกล ... -
COVID-19 Evidence Update: การศึกษาเรื่องการสลับวัคซีนโควิด-19 บอกอะไรเราบ้าง
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)1. การศึกษาเรื่อง Com-COV1 พบว่าการฉีดวัคซีนแบบสลับด้วยวัคซีน AstraZeneca เข็มแรก และ Pfizer-BioNTech เป็นเข็มที่ 2 ห่างกัน 4 สัปดาห์ ให้ผลในการสร้างภูมิต้านทานบางชนิด ไม่ด้อยกว่าการฉีดวัคซีน AstraZeneca ทั้งสองเข็ม ... -
COVID-19 Evidence Update: มีประเทศใดบ้างที่แนะนำให้มีการฉีดวัคซีนกระตุ้นภูมิคุ้มกันโควิด-19 เข็มที่ 3
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2564 มี 7 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บาห์เรน ตุรกี สาธารณรัฐโดมินิกัน อินโดนีเซีย และสหราชอาณาจักร ที่มีนโยบายแนะนำให้มีการฉีดวัคซีนภูมิคุ้มกันโควิด 19 เข็มที่ 3 ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ... -
COVID-19 Evidence Update: รู้หรือไม่ ข้อความแจ้งเตือนสามารถกระตุ้นให้คนมาฉีดวัคซีนมากขึ้นได้
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ทุกประเทศมีประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 10 ถึง 20 ไม่ยอมรับวัคซีนทั้งที่มีวัคซีนอย่างเพียงพอ ดังนั้นรัฐบาลประเทศต่างๆ จึงพยายามค้นหาวิธีทำให้ประชาชนรับวัคซีนโควิดได้มากที่สุด หนึ่งในกลยุทธ์ที่น่าสนใจและได้รับการพิสูจน์จากงานวิจัย ... -
COVID-19 Evidence Update: เมื่อวัคซีนทั่วโลก ปะทะ โควิดกลายพันธุ์ วัคซีนชนิดไหนลดอาการป่วยจากสายพันธุ์ต่างๆ ได้เท่าไหร่บ้าง
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ข้อมูลวัคซีนชนิดต่างๆ ในการลดอาการป่วยจากโควิดสายพันธุ์ต่างๆ -
COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)เอกสารงานวิจัย เรื่อง COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 ฉบับนี้ อยู่ภายใต้โครงการวิจัย การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ... -
การคัดกรองวัณโรคระดับประชากรในประเทศไทย
พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ศิตาพร ยังคง; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Patsri Srisuwan; Tanunya Koopitakkajorn; Pritaporn Kingkaew; Sitaporn Youngkong; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)วัณโรคเป็นโรคติดต่อร้ายแรง มีอุบัติการณ์และความชุกสูง ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองระดับประชากรในประเทศไทย เว้นแต่การตรวจภาพรังสีทรวงอกที่บรรจุในโปรแกรมการตรวจสุขภาพประจำปีของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ... -
การทบทวนวรรณกรรมการประเมินใช้ Insulin analogue ในการรักษาผู้ป่วยเบาหวาน
จันทนา พัฒนเภสัช (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2550-10)เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังซึ่งผู้ป่วยจะต้องควบคุมดูแลตนเองอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ซึ่งร่างกายไม่สามารถผลิตอินซูลินได้ หรือผลิตได้น้อย ... -
การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ในกลุ่มคนงานก่อสร้าง: การวิจัยเพื่อวางแผนการสื่อสารด้านสุขภาพ
จอมขวัญ โยธาสมุทร; เชิญขวัญ ภุชฌงค์; ทรงยศ พิลาสันต์; กัลยา ตีระวัฒนานนท์; ศิริญญา ธีระอนันต์ชัย; รุ่งนภา คำผาง; รักมณี บุตรชน; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Jomkwan Yothasamut; Choenkwan Putchong; Songyot Pilasant; Kanlaya Teerawattananon; Sirinya Teeraananchai; Roongnapa Khamphang; Rukmanee Butchon; Sripen Tantivess; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-09)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพในกลุ่มคนงานก่อสร้างทั้งในระดับบุคคลและชุมชน รวมถึงมาตรการสร้างเสริมสุขภาพที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนามาตรการเหล่านั ... -
การประเมินต้นทุน-อรรถประโยชน์ ของการใช้ยา Recombinant Human Erythropoietin เพื่อแก้ไขภาวะโลหิตจางที่เกิดจากยาเคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งในประเทศไทย
จิราพรรณ เรืองรอง; ยศ ตีระวัฒนานนท์; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2550-12) -
การประเมินต้นทุนประสิทธิผลและต้นทุนอรรถประโยชน์ของการคัดกรองและการใช้ยาเพื่อป้องกันกระดูกหักในหญิงวัยหลังหมดประจำเดือนที่เป็นโรคกระดูกพรุน
อุษาวดี มาลีวงศ์; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ฉัตรประอร งามอุโฆษ; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2551-01) -
การประเมินแผนงานประเมินเทคโนโลยีและนโยบายเพื่อการลงทุนด้านสุขภาพ
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)สืบเนื่องจากการประเมินยุทธศาสตร์หลักของ HITAP ที่คณะผู้ประเมินชาวไทยและอังกฤษได้ทําการตรวจสอบในปี 2551/52 ตามความต้องการของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 1 ในปี 2554 HITAP ได้ริเริ่มให้มีการประเมินครั้งที่สอง ... -
ความคุ้มค่าของการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบบีในประเทศไทย
นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)โรคไวรัสตับอักเสบบีพบได้บ่อยในประชากรไทย เป็นสาเหตุสำคัญของตับแข็ง ตับวาย มะเร็งตับ ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิต ค่าใช้จ่าย และทำให้ชีวิตสั้นลง ปัจจุบันไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจนและไม่มีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการ ... -
ต้นทุนประสิทธิผลของการตรวจคัดกรองผู้มีปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับประชากรในประเทศไทย
วริทธิ์ จันทรสถาพรจิต; Varit Chantarastapornchit; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)การดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยสำคัญต่อภาระโรคในประชากรไทย โดยเฉพาะประชากรเพศชาย การคัดกรองผู้มีปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์เพื่อให้คำแนะนำอย่างสั้นอาจช่วยลดปัญหานี้ได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ... -
รายงานประจำปี 2551 โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ
โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2551) -
รูปแบบบริการให้คำปรึกษาและตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไป
วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; Waranya Rattanavipapong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)องค์กรในต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเอชไอวี/เอดส์ได้ออกคำแนะนำสำหรับการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรทั่วไปจนถึงอายุ ๖๕ ปี เพื่อแก้ปัญหาและควบคุมสถานการณ์โรคเอดส์ แต่อุปสรรคและข้อท้าทาย คือ การถูกตีตรา การถูกแบ่งแยก ... -
แนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทย
พัฒน์ศรี ศรีสุวรรณ; Patsri Srisuwan; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)โรคหืดเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์ ความชุกและภาระโรคสูงในประเทศไทย ในปัจจุบันยังไม่มีแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากรในประเทศไทยที่ชัดเจน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนแนวทางการคัดกรองโรคหืดระดับประชากร โดยแบ่งการดำเนินงานเป็น ... -
แนวทางตรวจคัดกรองภาวะทุพโภชนาการระดับประชากรในประเทศไทย
สุทธิษา สมนา; Sutthisa Sommana; ธนัญญา คู่พิทักษ์ขจร; Tanunya Koopitakkajorn; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ด้านการคัดกรองทางสุขภาพระดับประชากรในประเทศไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม รวมถึงนโยบาย และเครื่องมือต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ สำหรับการคัดกรองภาวะทุพโภชนากา ...