Now showing items 1-15 of 15

    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; Chatchavan Janvijit; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; ศิวพร อึ้งวัฒนา; นงเยาว์ อุดมวงศ์; จิตนธี เขนย; นุชยงค์ เยาวพานนท์; มลวิภา ศิริโหราชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เป็นการนำผลการศึกษ ...
    • การประยุกต์ใช้ระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานในสถานประกอบการ : กรณีศึกษาบริษัทแปซิฟิกแปรรูปสัตว์น้ำ จังหวัดสงขลา 

      แสงอรุณ อิสระมาลัย; Saengarun Isaramalai; ภัทราภรณ์ กฤษณะพันธ์; Phatrapron Khisanaphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ผลจากการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมของในประเทศไทยที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ความต้องการแรงงานในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในจังหวัดที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลต่อความต้องการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น จังหวัดสงขลาเป็ ...
    • การประเมินการทดลองอบรมหลักสูตรพื้นฐานการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด 

      สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย; มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์; โครงการปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาศักยภาพการทำงานของนักสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด (สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553)
      การประเมินผลหลักสูตรการฝึกอบรมสำหรับผู้ปฏิบัติสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด จัดทำขึ้นเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้พื้นฐานในการปฏิบัติงานด้านยาเสพติดให้กับนักสังคมสงเคราะห์ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน องค์กรต่างๆ ทั้งทางภาครัฐและองค ...
    • การประเมินการบริหารจัดการโรคเบาหวานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุบลราชธานี 

      อาภรณ์ จตุรภัทรวงศ์; แสวง วัชระธนกิจ; ปาริชาต บุตรดีมี; ศิริรัตน์ บุญจรัส; นุชจรินทร์ อภินันท์; น้ำผึ้ง โนรีรัตน์; วัชโรดม ศุภลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-05)
      การประเมินการบริหารจัดการโรคเบาหวานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุบลราชธานี การประเมินผลของนโยบายการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการรักษา ยังมีข้อจำกัดในตัวชี้วัดที่เลือกใช้ในการประเมินของแต่ละโรงพยาบาล ...
    • การประเมินความยั่งยืนของกระบวนการสื่อสาร ทางสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 

      สุทธิลักษณ์ สมิตะสิริ; Suttilak Smitasiri; ธรา วิริยะพานิช; อรพินธ์ บรรจง; อทิตดา บุญประเดิม; จรณะ ทรัพย์สุวรรณ; วันเพ็ญ รัศมีโสภาพร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      การประเมินความยั่งยืนของกระบวนการสื่อสารทางสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายงานวิจัยนี้เพื่อติดตามความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ดำเนินการ คือ อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษหลังจากโครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีวิตามินเอส ...
    • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ : กับการสร้างนโยบายเพื่อสุขภาพ 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • การประเมินระบบดูแลผู้เป็นเบาหวานของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ (CUP) ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาระบบติดตามประเมินผลหน่วยบริการปฐมภูมิในระดับมหภาค ผลการศึกษาส่วนนี้เป็นการประเมินระบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ (CUP) ซึ่งเป็นผลรวมของการบริการร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล ...
    • การประเมินระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในช่วงทศวรรษแรก 2544-2553 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล; จิรบูรณ์ โตสงวน; นุชรี ศรีวิโรจน์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; วินัย ลีสมิทธิ์; พินิจ ฟ้าอำนวยผล; นุศราพร เกษสมบูรณ์; บุญชัย กิจสนาโยธิน; ครรชิต สุขนาค; จเด็จ ธรรมธัชอารี; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; สงครามชัย ลีทองดี; Hughes, David (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ทำการประเมินในปี พ. ศ. 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และ ประเมินว่าการปฏิรูปในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีประเด็นใดบ้างที่ประสบผลสำเร็จ และประเด็นใดบ้างที่ไม่ประสบผลสำเร็จ ...
    • การประเมินสมรรถนะบุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ 

      รัฐวุฒิ สุขมี; Rathavuth Sukme (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยเชิงพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินสมรรถนะบุคลากรในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ กับความคาดหวังขององค์กร และหาส่วนต่างของสมรรถนะของบุคลากรที่ต้องพัฒนา ตลอดจนเปรียบเทียบผลการประเมินโดยตนเอง ...
    • การประเมินแผนงานประเมินเทคโนโลยีและนโยบายเพื่อการลงทุนด้านสุขภาพ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)
      สืบเนื่องจากการประเมินยุทธศาสตร์หลักของ HITAP ที่คณะผู้ประเมินชาวไทยและอังกฤษได้ทําการตรวจสอบในปี 2551/52 ตามความต้องการของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 1 ในปี 2554 HITAP ได้ริเริ่มให้มีการประเมินครั้งที่สอง ...
    • ประเมินผลกระทบชุดโครงการที่มีลำดับความสำคัญสูงที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์; Somkiat Tangkitwanich; ศักดิ์สินี กลิ่นสุนทร; ธราธร รัตนนฤมิตศร; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Develoment Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      เอกสารชุดนี้เป็นการประเมินชุดโครงการที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้แก่ ชุดโครงการปฏิรูประบบสุขภาพ ชุดโครงการส่งเสริมการวิจัยระดับพื้นที่ ชุดโครงการส่งเสริมการวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการสร้า ...
    • ผลการกำกับติดตามประเมินภายในโครงการเครือข่ายพัฒนาอาชีพอิสระของคนพิการ 

      ภัสสร ลิมานนท์; รุ่งรัตน์ โกวรรธนะกุล; อนุวัฒน์ วัชรประภา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      รายงานฉบับนี้เป็นผลจากการกํากับติดตามประเมินภายในโครงการเครือข่ายพัฒนาอาชีพอิสระของคนพิการ ที่ดําเนินการโดยวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสนับสนุนด้านเงินทุนจากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย ...
    • ผลการประเมินหนึ่งทศวรรษระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง : การสังเคราะห์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การพัฒนา 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้ต้องการประเมินศักยภาพที่ดำรงอยู่ของอสม.ในประเทศไทยที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ความรู้จากการทบทวนสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งจากเอกสารและการประชุมเชิงปฏิ ...
    • ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง : การสังเคราะห์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การพัฒนา 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้ต้องการประเมินศักยภาพที่ดำรงอยู่ของอสม.ในประเทศไทยที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ความรู้จากการทบทวนสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งจากเอกสารและการประชุมเชิงปฏิ ...