Now showing items 1-20 of 65

    • กรอบการวิจัย สวรส. ปี 2562 ประเด็นวิจัย : Service delivery, Workforce, Governance 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมชี้แจงกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2562 ประเด็นวิจัย การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ ระบบบริการ และระบบอภิบาลสุขภาพ วันที่ 15 มกราคม 2561 ณ โรงแรมรามาการ์เดน กรุงเทพ
    • การกระจายอำนาจกำลังคนด้านสุขภาพในพื้นที่ชนบท 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; Somsak Chumharas; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การกระจายบุคลากรด้านสุขภาพในประเทศไทยดีขึ้นตามลำดับ ในอดีต ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรสุขภาพ โดยเฉพาะแพทย์ในพื้นที่ห่างไกลเป็นปัญหาที่รุนแรงมาก แพทย์ ทันตแพทย์ และเภสัชกรเป็นสามกลุ่มเหลักที่ต้องใช้ทำงานให้กับภาครัฐเมื่อจบการศึกษา ...
    • การกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamrangsri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาการความเหลื่อมล้ำของการกระจายแพทย์ทางภูมิศาสตร์ นับว่าเป็นปัญหาเรื้อรังของระบบบริการสุขภาพ ที่พบได้ในทุกพื้นที่ของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีความขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมอยู่แล้ว โดยปัญหาความเหลื่อมล้ำในการกระจายแ ...
    • การกระจายและความเหลื่อมล้ำของอัตรากำลังพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย 

      อัครเดช เกตุฉ่ำ; Akadet Kedcham; อรุณรัตน์ คันธา; Arunrat Khanthar; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Tuangtip Theerawit; กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      ปัญหาการกระจายและความเหลื่อมล้ำของกำลังคนด้านพยาบาลวิชาชีพนั้นส่งผลเสียต่อการให้บริการสุขภาพทั้งในแง่ของประสิทธิผลและประสิทธิภาพการดำเนินงานระบบบริการสุขภาพรวมถึงส่งผลต่อคุณภาพของการให้บริการสุขภาพด้วย การศึกษาเกี่ยวกับ ...
    • การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไทพ.ศ.2550-2554 : ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนากำลังคนด้านการแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก 

      ขวัญชัย วิศิษฐานนท์; อุบลวรรณ ขอพึ่ง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12-18)
      การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๐ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือทางการบริหารในการกำหนดทิศทางการดำเนินการ เพื่อพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท ...
    • การคาดการณ์กำลังคนทางด้านอาชีพสัตวแพทย์ ปี พ.ศ. 2568 

      ศุกลรัตน์ บุณยยาตรา; Sukolrat Boonyayatra; สุวิชา เกษมสุวรรณ; Suwicha Kasemsuwan; วลาสินี มูลอามาตย์; Walasinee Moonarmart; กนกอร เอื้อเกษมสิน; Ganokon Urkasemsin; ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล; Panuwat Yamsakul; ศิริพร เพียรสุขมณี; Siriporn Peansukmanee; ปริวรรต พูลเพิ่ม; Pariwat Poolperm; ชัยกร ฐิติญาณพร; Chaiyakorn Thitiyanaporn; ชูชาติ กมลเลิศ; Chuchart Kamollerd; กัลยา เจือจันทร์; Kanlaya Chauchan; เจษฎา จิวากานนท์; Jatesada Jiwakanon; พงษ์ศิวะ โสตถิพันธุ์; Pongsiwa Sotthibandhu; อภิรดี อินทรพักตร์; Apiradee Intarapuk; พรรณนิการ ชัยชนะศักดิ์; Pannigan Chaichanasak; ทนงศักดิ์ มะมม; Thanongsak Mamom; อุตรา จามีกร; Uttra Jamikorn; เกรียงยศ สัจจเจริญพงษ์; Kriengyot Sajjarengpong; พรชลิต อัศวชีพ; Pornchalit Assavacheep; ชัยวุฒิ ตั้งสมชัย; Chaiwut Tangsomchai; มานัดถุ์ คำกอง; Manad Khamkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      อาชีพสัตวแพทย์เป็นอาชีพหลักที่ให้บริการด้านสุขภาพสัตว์ บริการทางด้านสัตวแพทย์นั้น ไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อความเป็นอยู่ของสัตว์เท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ผ่านบทบาทที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาหารและการควบคุมโร ...
    • การคาดการณ์กำลังคนสำหรับการวางแผนอัตรากำลังเภสัชกรในประเทศไทย 

      พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ; Pisansit Thanawut; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกล่าวถึงวิธีการคาดการณ์กำลังคน และการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตรากำลังเภสัชกรที่พบในประเทศไทยและต่างประเทศ วิธีการกำหนดอัตรากำลังคนเป็นส่วนสำคัญของการคาดการณ์กำลังคน ซึ่งมีหลายวิธี เช่น ...
    • การคาดการณ์กำลังคนในกลุ่มทันตบุคลากรของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2569 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      ประเทศไทยมีการประมาณการความต้องการทันตบุคลากรหลายครั้ง วิธีการหลักที่ใช้ประมาณการความต้องการทันตแพทย์อ้างอิงจากสภาวะทันตสุขภาพของประชากรแล้วนำมาแปลงเป็นบริการที่ประชากรควรได้รับในมุมมองของทันตแพทย์ และยังไม่พบการประมาณการฯ ...
    • การคาดการณ์ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ: ฐานที่สำคัญในการวางแผนกำลังคน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพต้องอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์สำหรับรองรับการตัดสินใจ ดังนั้นการคาดการณ์ความต้องการกำลังคนที่สอดคล้องกับระบบสุขภาพที่พึงประสงค์จึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อจะนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาความไ ...
    • การคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลใน 20 ปี (พ.ศ. 2558-2578) 

      นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; พิศาลสิทธ์ ธนวุฒิ; Pisansit Thanawut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      การคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรเป็นข้อมูลสำคัญในการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังเภสัชกร ประเทศไทยมีเภสัชกรทำงานในสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลมากที่สุด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์อัตรากำลังเภสัชกรสาขาเภสัชกรรมโรงพยาบาลใน 20 ...
    • การจัดเครือข่ายบริการสุขภาพเชิงพื้นที่เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนบุคลากร 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      งานวิจัยนี้เป็นรายงานผลการวิเคราะห์เบื้องต้นของการจัดเครือข่ายบริการสุขภาพสำหรับกำลังคนด้านสุขภาพของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการขาดแคลนกำลังคนและการจัดเครือข่ายบริการสุขภาพ ...
    • การถอดบทเรียนการบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 

      จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ผู้ป่วย COVID-19 ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้มีการขยายบริการสุขภาพ ซึ่งพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยและบริการสุขภาพด้านอื่นๆ ทำให้มีการบริหารอัตรากำลังและพัฒนาสมรรถนะที่แตกต่างกันตามบริบทของโรงพยาบาล การวิจัยแบบถอดบทเรียนนี ...
    • การทบทวนระบบธรรมาภิบาลในด้านการวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพของประเทศไทย 

      นารีรัตน์ ผุดผ่อง; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์ (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักงานพัฒนานโนบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข, 2559-03)
      การศึกษาเรื่องธรรมาภิบาลที่เกี่ยวข้องกับกำลังคนด้านสุขภาพนั้นทั้งในระดับนานาชาติและระดับประเทศนั้นยังมีไม่มาก ในประเทศไทยได้มีการกล่าวถึงเรื่องธรรมาภิบาลกันอย่างกว้างขวางในช่วง 10-20 ปีที่ผ่านมา โดยแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ ...
    • การบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินีและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กรณีถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 

      เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช; Benjawan Thanormchayatawat; ศิริวรรณ ชูกำเนิด; Siriwan Chukumnird; นิรัชรา ลิลละฮ์กุล; Niratchara Lillahkul; เจษฎากร โนอินทร์; Jetsadakon Noin; รัถยานภิศ รัชตะวรรณ; Ratthayanaphit Ratchathawan; บุญประจักษ์ จันทร์วิน; Boonprajuk Junwin; วัลลภา ดิษสระ; Wanlapa Dissara; สายัณต์ แก้วบุญเรือง; Sayan Kaewboonruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)
      การศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการกำลังคนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี (สอน.) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) กรณีถ่ายโอนไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยใช้กลไกพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ ...
    • การบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 

      จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลต้องมีภาระงานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโดยตรง ทำให้ต้องมีการบริหารอัตรากำลังด้านการพยาบา ...
    • การบริหารจัดการและการสนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

      ดวงใจ เล็กสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-09)
      ในปัจจุบันการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ในเขตชนบทเป็นปัญหาประการสำคัญของการใช้ทรัพยากรบุคคลทางการแพทย์ที่มีอยู่ในประเทศไทย การจัดสรรบุคลากรเข้าสู่เขตชนบทประสบความสำเร็จอย่างน่าพอใจ แต่บุคลากรส่วนใหญ่เหล่านั้นก็ย้ายออกภายใน ...
    • การประเมินระบบฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดเชิงนโยบายกำลังคนด้านสุขภาพ (HRH Code Indicators) 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; ตวงทิพย์ ธีระวิทย์; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; Tuangtip Theerawit (สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP.), 2559-03)
      การศึกษานี้ พยายามทบทวนสถานการณ์ข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพในประเทศไทย รวมถึงการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การพัฒนาตัวชี้วัดกำลังคนด้านสุขภาพ จากการศึกษาพบว่าประเทศไทยมีฐานข้อมูลกำลังคนด้านสุขภาพหลากหลายแหล่ง ...
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการจ้างพยาบาลเกษียณอายุในสถานบริการสุขภาพ สังกัดภาครัฐ 

      วันเพ็ญ แก้วปาน; Wonpen Kaewpan; เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย; Phechnoy Singchongchai; สุรินธร กลัมพากร; Surintorn Kalampakorn; จุฑาธิป ศีลบุตร; Jutatip Sillabutra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานโยบายในการจ้างงานพยาบาลเกษียณอายุในสถานบริการสุขภาพ สังกัดภาครัฐ โดยมีรูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน โดยมีขั้นตอนดำเนินการดังนี้ 1) ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการจ้างงานและสถานการณ์การจ้างงาน ...
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างแรงจูงใจของกำลังคนด้านสุขภาพต่อการทำงานในพื้นที่ห่างไกล 

      พุดตาน พันธุเณร; Pudtan Phanthunane; อติพันธ์ สุวัฒน์เมฆินทร์; Atipan Suwatmakin; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ปัญหาความขาดแคลนกำลังคนทางด้านสุขภาพในเขตพื้นที่ชนบทหรือพื้นที่ห่างไกล เป็นปัญหาที่เรื้อรังเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน ทางแก้ปัญหาทางหนึ่งคือการใช้แรงจูงใจที่เหมาะสมและสามารถจูงใจให้บุคลากรทางการแพทย์เต็มใจทำงานในพื้นที่ห่างไกล ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดหลักกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย 

      ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree; พนารัตน์ วิศวเทพนิมิตร; Panarat Wisawatapnimit; วิชาวี พลอยส่งศรี; Wichavee Ploysongsri; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ (สวค.) ภายใต้มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2564-04)
      การศึกษานี้มีเป้าหมาย เพื่อพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดหลักในเรื่องกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศไทย โดยจะครอบคลุมถึงการจัดทำมาตรฐานข้อมูลและหน่วยงานที่เกี่ยวของในแต่ละตัวชี้วัดดังกล่าว และพัฒนาข้อเสนอความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบการ ...