Browsing by Subject "ร้านขายยา"
Now showing items 1-18 of 18
-
การกระจายร้านยากับความต้องการด้านสุขภาพในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)ร้านยาเป็นหน่วยบริการสุขภาพที่ให้บริการยาและสุขภาพเบื้องต้นในชุมชน การกระจายร้านยาในแต่ละพื้นที่อย่างเหมาะสมจะทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการเภสัชกรรมชุมชนได้ง่ายขึ้น และมีความปลอดภัยจากการใช้ยามากขึ้น วัตถุประสงค์ ... -
การประเมินต้นทุนของโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08-31)ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาลส่งผลต่อคุณภาพและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ร้านขายยาเป็นหนึ่งในสถานบริการสาธารณสุขที่มีบทบาทในการดูแลสุขภาพที่กระจายและคลอบคลุมพื้นที่มากกว่าสถานบริการหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ ปัจจุบันการประกอบวิชาช ... -
การประเมินผลการให้บริการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของร้านยาในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)บทนำ : บริการรักษาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของร้านยาเป็นนโยบายของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อลดความแออัดของโรงพยาบาลรัฐและทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการ เริ่มมีการให้บริการตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 การประเมิน ... -
การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการดำเนินงานโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านยา จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ... -
การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลจังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) เป็นการประเมินที่เน้นการเรียนรู้การปรับตัวและสอดคล้องกับการนำไปใช้ เพื่อให้สามารถใช้ผลการประเมินเป็นแนวทางในการพัฒนาและการปรับตัวได้ทันที เป็นแนวทางที่ได้นำมาใช้มากขึ้นในก ... -
การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01-12)การประเมินผลเชิงพัฒนา (developmental evaluation) เป็นวิธีการประเมินที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้วิจัยและผู้ดำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานให้สามารถไปถึงเป้าหมายได้ โดยวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้คือ ... -
การประเมินผลเชิงพัฒนาของโรงพยาบาลมหาสารคาม ภายใต้การประเมินผลโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)ในปี 2562 รัฐบาลมีนโยบายโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการฯ ในจังหวัดมหาสารคาม วิธีการวิจัย: วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ศึกษารูปแบบการจัดบ ... -
การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)ความแออัดของโรงพยาบาลรัฐบาลขนาดใหญ่ที่ทำให้ผู้ป่วยรอรับบริการนานเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบสุขภาพไทย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ป่วย ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่โดยใช้ ... -
การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาร้านยาคุณภาพที่เป็นหน่วยร่วมบริการกับคลินิกหมอครอบครัว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)บทนำ: การทำงานของคลินิกหมอครอบครัวมีข้อจำกัดคือเภสัชกรไม่เพียงพอ ร้านยาที่เป็นหน่วยร่วมบริการสามารถช่วยเติมเต็มระบบการทำงานด้านเภสัชกรรมให้สมบูรณ์ขึ้น วิธีการวิจัย: วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action ... -
การออกแบบระบบบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับผู้ป่วยมารับยาที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบบริการด้านยาสำหรับโครงการผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านตามรูปแบบที่ 3 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้ ... -
ความพร้อมและการตัดสินใจของร้านยาแหล่งฝึกในการร่วมให้บริการตามกรอบบริการของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)บทบาทของร้านยาในปัจจุบันกำลังมีการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในเรื่องการให้บริการอย่างมีส่วนร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่เป็นกลไกการขับเคลื่อนในเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนความต่อเนื่องของการให้บริการ งานวิจัยนี้มีวัตถ ... -
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเติมยาตามใบสั่งยาของเครือข่ายร้านยาจังหวัดลำพูน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)โครงการลดความแออัดและการรอคอยรับยาที่โรงพยาบาลให้ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเลือกรับยาโรคเรื้อรังต่อเนื่องได้ที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ได้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 การประเมินผลการดำเนินงานในระยะที่ผ่านมาพบรา ... -
ต้นทุนบริการสุขภาพสำหรับการรักษาผู้ป่วยอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่ร้านยาเปรียบเทียบกับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08-08)อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย (Common Illness) เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่พบบ่อยในประชาชน ความรุนแรงและความซับซ้อนของโรคน้อย ประชาชนสามารถดูแลรักษาตนเองในเบื้องต้นได้ การรับบริการที่ร้านยาจึงเป็นทางเลือกที่ประชาชนเลือกใช้บริการ ... -
รับยาที่ร้านยา ทำอย่างไร
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5445) แสดงขั้นตอนการรับยาที่ร้านยา -
รับยาที่ร้านยา ลดเสี่ยงโควิด ลดแออัดในโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5445) -
รูปแบบที่เหมาะสมของการบริหารจัดการด้านยาโดยร้านยาเป็นผู้ดำเนินการภายใต้โครงการลดความแออัดของหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติโดยร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ปัจจุบันประเทศไทยได้ดำเนินโครงการลดความแออัดของหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 โดยผลักดันให้เกิดรูปแบบการบริหารจัดการด้านยาที่ร้านยาเป็นผู้ดำเนินการเอง ซึ่งมีความคล่องตัว ลดภาระงานข ... -
แนวทางและความเป็นไปได้ในการถ่ายโอนบริการด้านยาจากโรงพยาบาลสู่ร้านยาชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)ในปัจจุบันปัญหาความแออัดของโรงพยาบาลใหญ่เริ่มมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น แนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาความแออัดของโรงพยาบาล คือ การเปิดบริการรับยาต่อเนื่องจากร้านยาคุณภาพนอกโรงพยาบาล และจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...