Now showing items 1-9 of 9

    • การพัฒนาขีดความสามารถสำหรับการเข้าถึงยาของประเทศไทย 

      แผนงานวิจัยพัฒนาขีดความสามารถสำหรับการเข้าถึงยาของประเทศไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      แผนงานวิจัยการพัฒนาขีดความสามารถสำหรับการเข้าถึงยาของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลไกระดับชาติร่วมกับสถานการณ์ในระดับพื้นที่ และจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสำหรับการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในประเด็นต่อไปนี้ ...
    • การมีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายของผู้มีส่วนได้เสียจากการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาในประเทศไทย 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; โชติรส ละอองบัว; Chotiros Laongbua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      เมื่อ พ.ศ. 2549 และ 2550 รัฐบาลไทยประกาศใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาด้านเอชไอวีและยาสลายลิ่มเลือดรวม 3 รายการ. นโยบายดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ผู้ป่วยที่รับการรักษาพยาบาลในภาครัฐเข้าถึงยามากขึ้น ซึ่งเป็นไปตามมาตรการยืดหย ...
    • การศึกษาผลกระทบจากมาตรการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาในประเทศไทยระหว่างปี 2549-2551 

      อินทิรา ยมาภัย; อดุลย์ โมฮารา; วันดี กริชอนันต์; คัคนางค์ ไชยศิริ; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2552-07)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบจากมาตรการใช้สิทธิตามสิทธิบัตรของยา 7 รายการ ซึ่งเป็นที่กังขาในสังคม แม้ว่ามาตรการนี้สอดคล้องตามประกาศปฏิญญาโดฮา ในข้อตกลงด้านการค้าว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญาและสาธารณสุข ปี พ.ศ. ...
    • ข้อตกลง TRITs : สิทธิบัตรยาและผลกระทบทางสุขภาพ 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kedsomboon; รัษวร ใจสะอาด; วราวุธ เสริมสินสิริ; กรแก้ว จันทภาษา; ทิพาพร กาญจนราช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      เมื่อคนเราเจ็บป่วย สิ่งที่จำเป็นและขาดไม่ได้คือ ยารักษาโรค แต่ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศอาจจะทำให้คนเจ็บป่วยต้องเสียชีวิต เพราะไม่มีเงินซื้อยาที่ราคาแพงขึ้น ข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญข้อหนึ่ง คือ ข้อตกลง TRIPs ...
    • คู่มือการตรวจสอบสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้องกับการประดิษฐ์ทางยา 

      กระทรวงพาณิชย์. กรมทรัพย์สินทางปัญญา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์, 2554-09)
      คณะผู้วิจัยได้พัฒนาคู่มือการตรวจสอบฯโดยใช้แนวทางของเกณฑ์การตรวจสอบสิทธิบัตรที่พัฒนาจาก ICTSD, UNCTAD และ WHO และกฎหมายสิทธิบัตรของอินเดีย และมีขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมของเนื้อหาคู่มือ ดังนี้ 1.1 ...
    • จดหมายเหตุการใช้สิทธิกับสิทธิบัตรยาของประเทศไทย 

      วิชัย โชควิวัฒน (แผนงานพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของไทย, 2551-03)
      นับตั้งแต่กระทรวงสาธารณสุขภายใต้การนำของ นายแพทย์มงคง ณ สงขลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และทีมงาน ได้ตัดสินใจทางนโยบายที่สำคัญตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งได้ไม่นานในการใช้สิทธิกับสิทธิบัตรยา เพื่อเปิดประตูให้สามารถจัดหายาท ...
    • รายงานสังเคราะห์กรณีศึกษาการบริหารจัดการงานวิจัยหรือความรู้ 3 กรณีศึกษา 

      โอปอล์ ประภาวดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-11)
      หากจะกล่าวว่ารายงานการสังเคราะห์กรณีศึกษาการบริหารจัดการงานวิจัย/ความรู้ จำนวน 3 กรณีนี้ เป็นงานวิจัย คงไม่ตรงตามความจริงนัก เพราะวิธีการทำงานและการปฏิบัติการต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลไม่ได้เน้นตามจารีตของการทำงานวิจั ...
    • สถานการณ์ระบบยาประเทศไทยรู้เท่าทันกระแสโลก (ประเด็นระบบทรัพย์สินทางปัญญา) 

      จิราพร ลิ้มปานานนท์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552-08-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ ข้อเสนอกรอบวิจัยเพื่อพัฒนาระบบยา “การเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชากรไทย” วันที่ 26-27 สิงหาคม 2552 ณ ห้องประชุมกมลทิพย์ ชั้น 2 โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร
    • โครงการสิทธิบัตรยาที่จัดเป็น evergreening patent ในประเทศไทยและการคาดประมาณผลกระทบที่เกิดขึ้น 

      อุษาวดี มาลีวงศ์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; อัจฉรา เอกแสงศรี; สุรเดช อัศวินทรางกูล; กรรณิการ์ กิจติเวชกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      การแก้ไขพระราชบัญญัติสิทธิบัตรของไทย เพื่อให้คุ้มครองสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ (Product patent) จากเดิมที่ให้สิทธิบัตรเฉพาะในส่วนสิทธิบัตรกรรมวิธีการผลิต (Process patent) ตามแรงกดดัน ของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี 2535 ส่งผลกระทบใน ...